dc.contributor.advisor |
Naiyanan Ariyakanon |
|
dc.contributor.author |
Puttapatsorn Laohatrakul |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Science |
|
dc.date.accessioned |
2020-04-23T05:42:44Z |
|
dc.date.available |
2020-04-23T05:42:44Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65463 |
|
dc.description |
In Partial Fulfillment for the Degree of Bachelor of Science Program in Environmental Science, Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2018 |
en_US |
dc.description.abstract |
The aim of this study was to investigate the removal efficiency of secondary canteen wastewater treatment by using water lettuce (Pistia stratiotes). The canteen wastewater was treated by biochar as a primary treatment. After primary treatment, canteen wastewater was diluted at the concentration of 0%, 25%, 50% and 75% and was treated by water lettuce for 15 days. The 7 parameters were determined in canteen wastewater; pH, BOD, COD, TKN, TP, TSS and FOG. For plants, biomass, total carbohydrate and protein content were determined. Water and plant samples were collected every 3 days at day 0, 3, 6, 9, 12 and 15. The results showed that the maximum removal efficiency of BOD, COD, TKN, TP, TSS and FOG at 25% of concentration were 94.06%, 93.34%, 38.36%, 66.83%, 100% and 6.45%, respectively. The highest biomass was 1.775 g (15 days). The maximum total carbohydrate and protein content of water lettuce were 0.35 and 0.42 g/g biomass, respectively. The result indicated that the highest removal efficiency by water lettuce was at 25% of the concentration of canteen wastewater. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
จุดมุ่งหมายของการศึกษานี้ เพื่อหาประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียโรงอาหารขั้นที่สอง โดยจอก (Pistia stratiotes) น้ำเสียที่นำมาศึกษาเป็นน้ำเสียจากโรงอาหาร และผ่านการบำบัดขั้นที่หนึ่ง ด้วยไบโอชาร์ (Biochar) จากนั้นนำตัวอย่างน้ำมาเจือจางให้มีความเข้มข้น 0%, 25%, 50% และ 75% และใช้จอกในการบำบัดเป็นเวลานาน 15 วัน โดยจะมีการตรวจวัดค่าพารามิเตอร์ในน้ำก่อนและหลังการบำบัด พารามิเตอร์ที่ตรวจวัด ได้แก่ pH, BOD, COD, TKN, TP, TSS และ FOG สำหรับในพืชจะทำการตรวจวัด 3 พารามิเตอร์ ได้แก่ มวลชีวภาพ ปริมาณคาร์โบไฮเดรททั้งหมดและโปรตีนทั้งหมด โดยจะทำการเก็บตัวอย่างพืชและน้ำทุก 3 วัน ได้แก่ วันที่ 0, 3, 6, 9, 12 และ 15 ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพสูงที่สุดในการบำบัดน้ำเสียขั้นที่สองจากโรงอาหาร ในแต่พารามิเตอร์ คือ BOD, COD, TKN, TP, TSS และ FOG เท่ากับ 94.06%, 93.34%, 38.36%, 66.83%, 100% และ 6.45% ตามลำดับ ส่วนพารามิเตอร์ที่ตรวจวัดได้จากพืชพบว่า มวลชีวภาพที่เพิ่มขึ้น มีค่าสูงที่สุดเท่ากับ 1.78 กรัม และมีปริมาณคาร์โบไฮเดรททั้งหมด และโปรตีนทั้งหมดมากที่สุด เท่ากับ 0.35 และ 0.42 กรัมต่อกรัมมวลชีวภาพ จากการศึกษาพบว่า ที่ความเข้มข้น 25% จอกจะมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียขั้นที่สองจากโรงอาหารได้ดีที่สุด |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.title |
Phytoremediation of secondary canteen wastewater treatment by using water lettuce (Pistia stratiotes L.) |
en_US |
dc.title.alternative |
การบำบัดนํ้าเสียขั้นที่สองโดยใช้จอก (Pistia stratiotes L.) |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Naiyanan.A@Chula.ac.th |
|