dc.contributor.advisor |
Chidsanuphong Chart asa |
|
dc.contributor.advisor |
Pasicha Chaikaew |
|
dc.contributor.author |
Nattanon Sukkamnerd |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Science |
|
dc.date.accessioned |
2020-04-23T06:59:44Z |
|
dc.date.available |
2020-04-23T06:59:44Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65468 |
|
dc.description |
In Partial Fulfillment for the Degree of Bachelor of Science Program in Environmental Science, Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2018 |
en_US |
dc.description.abstract |
It is important for the people, especially those who spend a lot of their time in building, to realize that they may expose to poor indoor air quality and Sick Building Syndrome can occur to themselves. Thus, this study aims to assess the indoor air quality and to explore the awareness of Sick Building Syndrome among students in the classroom. The study measured 4 indoor air quality parameters of classroom 201 in the Mahamakut building at Chulalongkorn University during the class in 10 sessions from 13.00 –15.00 o’clock by using SIRIUS ST-501 for CO2 Concentration and using TM-4002 for relative humidity, temperature and air velocity. Meanwhile, the questionnaires adapted from the previous were used to survey the awareness of Sick Building Syndrome in the students. In conclusion, 3 parameters including CO2 concentration, relative humidity and air velocity were not complied with the acceptable standard. Only temperature parameter was complied. The Pearson correlation coefficient between CO2 concentration and relative humidity, temperature and air velocity were 0.108, -0.209 and 0.558 respectively but it was not significant (p>0.05). The majority of the respondents’ level of awareness of Sick Building Syndrome in term of environmental factors considering room temperature and air circulation or ventilation was good or excellent. However, when considering room humidity, the level of awareness of the majority was very poor, poor or moderate. The majority’s level of awareness in term of symptoms considering eye symptoms, nasal symptoms, skin problems, aches or pains and other symptoms was very poor, poor or moderate. Except when considering throat or respiratory tract symptoms, the level of awareness was good or excellent. The majority’s level of awareness in term of activities considering classroom cleaning and muscle stretching was good or excellent. But when considering air conditioning system maintenance and sitting spot, the level of awareness was very poor, poor or moderate. The study suggests that the indoor air quality of the should be improved and the awareness of Sick Building Syndrome should be promoted more. Beside, this study recommends that the number of samples should be raised for the thorough study in the future. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
ผู้คนควรที่จะได้รับรู้ว่าพวกเขามีโอกาสที่จะสัมผัสกับอากาศภายในอาคารที่ไม่ดีและมีอาการของโรคตึกเป็นพิษเกิดขึ้นกับพวกเขา งานศึกษานี้จึงมีเป้าหมายที่จะประเมินคุณภาพอากาศภายในอาคารของห้องเรียนและสำรวจความตระหนักถึงโรคตึกเป็นพิษในหมู่นิสิตในห้องเรียนนั้น งานศึกษาได้วัดคุณภาพอากาศภายในอาคาร ระหว่างชั้นเรียน 10 คาบ ในห้องเรียน 201 ตึกมหามุฏ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่เวลา 13.00 ถึง 15.00 นาฬิกา โดยใช้เครื่องวัด SIRIUS ST-501 สำหรับค่าความเข้มข้นคาร์บอนไดออกไซด์ และ TM-4002 สำหรับค่าความชื้นสัมพัทธ์ อุณหภูมิ และ ความเร็วลม ในขณะเดียวกัน แบบสอบถามที่ดัดแปลงมาจากงานศึกษาก่อนได้ถูกใช้ในการสำรวจความตระหนักถึงโรคตึกเป็นพิษในหมู่นิสิต งานศึกษาพบว่า ค่าความเข้มข้นคาร์บอนไดออกไซด์ ความชื้นสัมพัทธ์ และ ความเร็วลม ไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ตามร่างประกาศฯของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มีเพียงแค่อุณหภูมิเท่านั้นที่อยู่ในเกณฑ์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างค่าความเข้มข้นคาร์บอนไดออกไซด์ กับ ความชื้นสัมพัทธ์ อุณหภูมิ และ ความเร็วลม เท่ากับ 0.108, –0.209 และ 0.558 ตามลำดับ โดยที่ไม่มีนัยสำคัญ (p>0.05) ความตระหนักถึงโรคตึกเป็นพิษในแง่ของปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมของนิสิตส่วนใหญ่อยู่ในระดับที่มาก ถึง ระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาจาก อุณภูมิห้อง การหมุนเวียนหรือระบายอากาศ แต่เมื่อพิจารณาจาก ความชื้นสัมพัทธ์ ความตระหนักอยู่ในระดับที่น้อยที่สุด ถึง ระดับปานกลาง ความตระหนักถึงโรคตึกเป็นพิษในแง่ของอาการของนิสิตส่วนใหญ่อยู่ในระดับที่น้อยที่สุด ถึง ระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาจาก อาการทางตา ทางโพรงจมูก ทางผิวหนัง อาการปวด และอาการอื่น ๆ มีเพียงแค่เมื่อพิจารณาจาก อาการทางลำคอและระบบทางเดินหายใจเท่านั้น ที่ความตระหนักอยู่ในระดับที่มาก ถึง ระดับมากที่สุด ความตระหนักถึงโรคตึกเป็นพิษในแง่ของกิจกรรมของนิสิตส่วนใหญ่อยู่ในระดับที่มาก ถึง ระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาจาก การทำความสะอาดห้องเรียน และ การยืดกล้ามเนื้อ แต่เมื่อพิจารณาจากการบำรุงรักษาระบบปรับอากาศ และ ตำแหน่งที่นั่ง ความตระหนักอยู่ในระดับที่น้อยที่สุด ถึง ระดับปานกลาง งานศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าคุณภาพอากาศภายในอาคารควรได้รับการปรับปรุงและนิสิตควรได้รับการประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคตึกเป็นพิษ นอกจากนี้ จำนวนของตัวอย่างต่าง ๆ ทั้งจำนวนครั้งในการเก็บวัดพารามิเตอร์คุณภาพอาการภายในอาคารและจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม ควรมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นในการศึกษาในอนาคต |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.title |
Assessment of indoor air quality and awareness of sick building syndrome in Chulalongkorn University |
en_US |
dc.title.alternative |
การประเมินคุณภาพอากาศภายในอาคารและความตระหนักถึงโรคตึกเป็นพิษในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
chidsanuphong.c@chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Pasicha.C@chula.ac.th |
|