dc.contributor.advisor |
Pantana Tor-ngern |
|
dc.contributor.author |
Keerati Srisathong |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Science |
|
dc.date.accessioned |
2020-04-23T07:22:03Z |
|
dc.date.available |
2020-04-23T07:22:03Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65471 |
|
dc.description |
In Partial Fulfillment for the Degree of Bachelor of Science Program in Environmental Science, Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2018 |
en_US |
dc.description.abstract |
Nowadays many city governments have adopted policies promoting urban greening because of urban greening provide ecosystem services. One of services is to mitigate the increasing carbon dioxide in atmosphere through photosynthesis. In this study, we studied carbon dioxide absorption rate ( A ) by urban trees in Chulalongkorn University (CU) Centenary Park in wet and dry season and selected urban trees species which are Lagerstroemia floribunda (Crepe Myrtle), Afzelia xylocarpa (Black rosewood), Homalium tomentosum (Moulmein lancewood) and Bauhinia purpurea (Orchid Tree). We measured stomatal conductance ( s g ), the ratio of leaf intercellular CO₂ concentration and atmospheric CO₂ concentration ]Equation] and then calculated carbon dioxide absorption rate. The results showed that A in all species showed no seasonal difference (p › 0.05). Overall, A increased with vapor pressure deficit ( VPD ) until it reached approximately 2 to 30 kPa and then decreased with VPD . Because VPD is calculated from relative humidity (RH) and temperature, we examined the relationships between these two variables and A to see which one contributed more to the VPD responses. Results showed that RH seemed to affect the VPD in A. xylocarpa, L. floribunda and B. purpurea while temperature contributed more to the response in dry season of H. tomentosum. We conclude that A was the highest in L. floribunda, B. purpurea, H. tomentosum, and A. xylocarpa, respectively and all species were no statistically significant differences of A between wet and dry season. The results from this study will be important to increase planting trees that can choose maximize carbon dioxide absorption rate by selecting appropriate species for improve CO₂ mitigation of this park. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
ในปัจจุบันหลายประเทศให้ความสำคัญกับการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองมากยิ่งขึ้น เนื่องจากพื้นที่สีเขียวหรือ ต้นไม้สามารถให้บริการเชิงนิเวศได้ ซึ่งหนึ่งในนั้น คือ การดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศผ่านกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาอัตราการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพันธุ์ไม้ในอุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยพันธุ์ไม้ที่ศึกษา ได้แก่ ตะแบกนา (Lagerstroemia floribunda), มะค่าโมง (Afzelia xylocarpa), ชงโค (Bauhinia purpurea) และขานาง (Homalium tomentosum) โดยใช้วิธีการวัดค่าชักนำการเปิดปิดปากใบ (Stomatal conductance, s g ) วัดอัตราส่วนระหว่างค่าความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ภายในเซลล์ใบพืชและในบรรยากาศ [Equation] และนำไปคำนวณอัตราการดูดซับอัตราการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ( A ) โดยศึกษาทั้งในฤดูฝนและฤดูแล้ง จากการศึกษาพบว่า ค่า A ของทั้งสองฤดูกาลไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (P › 0.05) และจากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์กับปัจจัยทางสภาพแวดล้อม ซึ่งได้แก่ ค่าความต่างของความดันไอของน้ำ (Vapor pressure deficit: VPD ) พบว่า A เพิ่มขึ้นเมื่อ VPD สูงขึ้น จนถึงค่าประมาณ 2 ถึง 30 kPa และลดลงเมื่อ VPD มีค่าสูงขึ้น และเนื่องจากความชื้นสัมพัทธ์และอุณหภูมิใน บรรยากาศเป็นสองตัวแปรที่ส่งผลต่อ VPD จึงได้ทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง A กับ สองตัวแปรนี้ พบว่า A ของ ตะแบกนา, มะค่าโมง และชงโค เปลี่ยนแปลงตามความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศมากกว่าอุณหภูมิ ในขณะที่ A ของ ขานางเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิมากกว่าความชื้นสัมพัทธ์ในบรรยากาศ จากผลการวิจัยนี้สรุปได้ว่า พันธุ์ไม้ที่มีอัตราการ ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุดของทั้งสองฤดูกาล คือ ตะแบกนา รองลงมา คือ ชงโค, ขานาง และมะค่าโมง ตามลำดับ และไม่มีความแตกต่างระหว่างฤดูกาล นอกจากนี้สามารถใช้ผลจากการวิจัย ในการจัดการดูแลพันธุ์ไม้ใน อุทยานแห่งนี้ เช่น ในการเพิ่มจำนวนพันธุ์ไม้ที่จะนำมาปลูก ควรเลือกจากพันธุ์ไม้ที่มีอัตราการดูดซับก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ได้มากที่สุด เพื่อให้พื้นทีสีเขียวแห่งนี้ให้บริการเชิงนิเวศได้ดียิ่งขึ้น |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.title |
Carbon dioxide absorption rate by urban trees in Chulalongkorn University Centenary Park |
en_US |
dc.title.alternative |
การศึกษาอัตราการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพันธุ์ไม้ในอุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
pantana.t@chula.ac.th |
|