DSpace Repository

การเปรียบเทียบแผนภูมิควบคุมสำหรับกระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อยในค่าเฉลี่ย

Show simple item record

dc.contributor.advisor มานพ วราภักดิ์
dc.contributor.author นภัสพร เธียรพัฒนะวงศ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
dc.date.accessioned 2020-04-24T05:37:23Z
dc.date.available 2020-04-24T05:37:23Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.issn 9741710747
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65499
dc.description วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแผนภูมิควบคุมสำหรับกระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อยในค่าเฉลี่ย แผนภูมิควบคุม ได้แก่ แผนภูมิควบคุมเฉลี่ย (x̅) แผนภูมควบคุมค่าเฉลี่ย เคลื่อนที่แบบปรับน้ำหนักด้วยเอกซโพเนนเชียล (E) แผนภูมิควบคุมรวมค่าเฉลี่ยและผลรวมสะสม (C-S) และแผนภูมิควบคุมสังเคราะห์ (S) โดยจะเปรียบเทียบจำนวนความยาววิ่งโดยเฉลี่ย (Average Run Length ; ARL) ภายใต้ตัวแบบอนุกรมเวลาแบนค่าเฉลี่ยคงที่เฉพาะช่วงเวลา ถ้าแผนภูมิควบคุมใดให้จำนวนความขาววิ่งโดยเฉลี่ยน้อยที่สุด จะถือว่าแผนภูมิควบคุมนั้นมีประสิทธิภาพมากที่สุดในแต่ละสถานการณ์ โดยศึกษาภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆ ดังนี้ กลุ่มตัวอย่างสุ่มมาจากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติ ค่าเฉลี่ย(µ0) = 100 และความแปรปรวน (℺2) = 100 กระบวนการจะมีค่าเฉลี่ยเปลี่ยนแปลงไปจาก µ0 เป็น µ1 = µ0+ δ℺ ระดับการเปลี่ยนแปลงของค่าเฉลี่ย (δ℺) มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 25 โดยเพิ่มขึ้นครั้งละ 1 และ 27 30 33 35 ขนาดตัวอย่างเท่ากับ 2 3 4 5 6 7 8 9 10 15 20 30 40 50 และ 60 ขอมูลที่ใช้ในงานวิจัยได้จากการจำลองด้วยเทคนคมอนฅคาร์โล 1,000 ครั้ง ในแต่ละสถานการณ์ของการทดลองที่กำหนด ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ระดับการเปลี่ยนแปลงของค่าเฉลี่ยน้อย (1 ≤ δ℺ ≤5) เมื่อขนาดตัวอย่างตั้งแต่ 2 ถึง 4 แผนภูมิควบคุม C-S และแผนภูมิควบคุม E มีประสิทธิภาพนากที่สุด ขนาดตัวอย่าง 5 และ 6 แผนภูมิควบคุม E มีประสิทธิภาพมากที่สุด ขนาดตัวอย่าง 7 หรือมากกว่า แผนภูมิควบคุม E และแผนภูมิควบคุม S เมอ ARL.(0) = 200 มีประสิทธิภาพมากที่สุด ระดับการเปลี่ยนแปลงของค่าเฉลี่ยปานกลาง (5 ≤ δ℺ ≤15) เมื่อขนาดตัวอย่างตั้งแต่ 2 ถึง 5 แผนภูมิ E และแผนภูมิควบคุม S เมื่อ ARI.(0) = 200 มีประสิทธิภาพมากที่สุด ขนาดตัวอย่างตั้งแต่ 6 ถึง 9 แผนภูมิควบคุม S เมื่อ ARL(0) = 200 มีประสิทธิภาพมากที่สุด ขนาดตัวอย่าง 10 หรือมากกว่า ทุกแผนภูมิควบคุมมีประสิทธิภาพเท่ากัน ระดับการเปลี่ยนแปลงของค่าเฉลี่ยเมื่ออยู่ในระดับมาก (15 ≤ δ℺ ≤ 35) ทุกแผนภูมิควบคุมมีประสิทธิภาพเท่ากัน ที่ทุกขนาดตัวอย่าง ระดับการทเลี่ยนแปลงของค่าเฉลี่ย( δ℺) และขนาดตัวอย่างเมื่อมีค่ามากขึ้น ทุกแผนภูมิควบคุมจะมีประสิทธิภาพมากขึ้น
dc.description.abstractalternative The purpose of this research is to compare efficiency of Control Charts for the small shills in the process mean of x̅ Control Chart (x̅), Exponential Weighted Moving Average Control Chart (E), Combined x̅ - Cumulative Sum Control Chart (C-S), and Synthetic Control Chart(S). Control Charts are determined by comparing Average Run Length under a time series constant mean model. Control Charts having least Average Run Length is considered to be die best. The distribution under study is Normal distribution with population mean (µ0) = 100 and variance (℺2) = 100 , the process mean will be change from µ0 to µ1 = µ0+ δ℺, values of the level of mean shift (δ℺ ) are ranges from 1 to 25 increasing by 1 and 27 30 33 35 and the sample sizes are 2 3 4 5 6 7 8 9 10 15 20 30 40 50 and 60. For this research, The data for the experiment were obtained through the Monte Carlo Simulation technique and the experiment was repeated 1,000 times for each case. Results of the study are as follows : For small level of mean shift (1 ≤ δ℺ ≤5), sample size from 2 to 4 , C-S Control Chart and E Control Chart are most efficient ; sample size 5 and 6 , E Control Chart is most efficient ; and for sample size greater than or equal to 7, E Control Chart and S Control Chart ARL(0) = 200 are most efficient. For medium level of mean shift (5 ≤ δ℺ ≤ 15) , sample size from 2 to 5 , E Control Chart and S Control Chart ARL(0) = 200 are most efficient ; sample size from 6 to 9 , S Control Chart ARL(0) = 200 is most efficient ; and for sample size greater than or equal to 10 , all Control Charts are equally efficient. For large level of mean (15 ≤ δ℺ ≤ 35), all Control Charts are equally efficient, for all sample sizes. For the level of mean shift and sample sizes when increase, all Control Charts will be more efficient.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2002.442
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การควบคุมกระบวนการผลิต -- ระเบียบวิธีทางสถิติ en_US
dc.subject การควบคุมคุณภาพ en_US
dc.subject การควบคุมคุณภาพ -- แผนภูมิ en_US
dc.subject Process control -- Statistical methods en_US
dc.subject Quality control en_US
dc.subject Quality control -- Charts, diagrams, etc en_US
dc.title การเปรียบเทียบแผนภูมิควบคุมสำหรับกระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อยในค่าเฉลี่ย en_US
dc.title.alternative A comparison on control charts for the small shifts in the process mean en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name สถิติศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline สถิติ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Manop.V@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2002.442


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record