DSpace Repository

การเปลี่ยนแปลงของเส้นแนวชายฝั่งตั้งแต่ปากแม่น้ำเจ้าพระยาถึงปากแม่น้ำท่าจีน ระหว่างปี พ.ศ. 2530-2560

Show simple item record

dc.contributor.advisor ปัทมา สิงหรักษ์
dc.contributor.author กรรณิกา อรามพระ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-05-01T07:09:41Z
dc.date.available 2020-05-01T07:09:41Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65628
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ศึกษาการเปลี่ยนแปลงเส้นแนวชายฝั่งบริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาถึงปากแม่น้ำท่าจีน ระหว่างปี พ.ศ. 2530-2560 โดยวิเคราะห์ภาพถ่ายจากดาวเทียม Landsat 4 ภาพ ในปี พ.ศ. 2530, 2540, 2549 และ 2560 ร่วมกับซอฟแวร์วิเคราะห์เส้นชายฝั่งดิจิตอล (Digital Shoreline Analysis System: DSAS) และเครื่องมือในโปรแกรม ArcGIS 10.4.1 11 พบอัตราการเปลี่ยนแปลงเส้นชายฝั่ง (End Point Rate) เฉลี่ยของพื้นที่ในเขต จ.สมุทรปราการ สูงที่สุด 17.1 เมตรต่อปี รองลงมาเป็นพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานคร 7.7 เมตรต่อปี และต่ำที่สุดเป็นพื้นที่ในเขต จ.สมุทรสาคร 4.7 เมตรต่อปี จัดเป็นพื้นที่ที่มีอัตราการกัดเซาะรุนแรง (จ.สมุทรปราการ และกรุงเทพมหานคร) และอัตราการกัดเซาะปานกลาง (จ.สมุทรสาคร) เมื่อประเมินอัตราการเปลี่ยนแปลงในห้วงเวลา 10 ปี พบว่า ในช่วง ปี พ.ศ. 2549-2560 อัตราการกัดเซาะมีค่าลดลงทั้งพื้นที่บริเวณ จ.สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร และ จ.สมุทรสาคร เนื่องจากมีการดำเนินมาตรการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณอ่าวไทยตอนบนจากหน่วยงานต่าง ๆ ในช่วงปี พ.ศ. 2550 ถึงปัจจุบัน en_US
dc.description.abstractalternative This study investigated the shoreline changes between Chao Phraya River mouth to Tha Chin River mouth during 1987–2017. Shorelines were analyzed from four Landsat satellite images in 1987, 1997, 2006 and 2017 using tools in ArcGIS 10.4.1 program together with Digital Shoreline Analysis System (DSAS). It was found that, the highest End Point Rate average was in Samut Prakan 17.1 meters per year, followed by Bangkok 7.7 meters per year and Samut Sakhon 4.7 meters per year. The areas can be classified as severe erosion rate (Samut Prakan and Bangkok) and moderate erosion rate (Samut Sakhon). When evaluating the rate of change in a 10-year period, the study showed that during the years 2006–2017, the erosion rate was reduced in all areas due to coastal protection measures in the upper Gulf of Thailand from various agencies since the year 2007 en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.title การเปลี่ยนแปลงของเส้นแนวชายฝั่งตั้งแต่ปากแม่น้ำเจ้าพระยาถึงปากแม่น้ำท่าจีน ระหว่างปี พ.ศ. 2530-2560 en_US
dc.title.alternative Changes of shoreline between Chao Phraya River mouth and Tha Chin River mouth during 1987-2017 en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor Patama.S@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record