DSpace Repository

การปรับปรุงระบบการซ่อมบำรุงเพื่อประสิทธิภาพการดำเนินงาน กรณีศึกษาโรงงานผลิตกระป๋องบรรจุอาหาร

Show simple item record

dc.contributor.advisor วันชัย ริจิรวนิช
dc.contributor.author รัชพร จิราพงษ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-05-12T04:27:13Z
dc.date.available 2020-05-12T04:27:13Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.isbn 9741734638
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65742
dc.description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 en_US
dc.description.abstract ในอุตสาหกรรมผลิตกระป้องบรรจุอาหารนั้น เครื่องจักรนับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง การวิจัยนี้จึงได้ทำการศึกษาการปรับปรุงระบบงานซ่อมบำรุงป้องกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและกำหนดแนวทางการปรับปรุงระบบงานซ่อมบำรุงให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น ซึ่งทำได้โดยการ จัดการด้านซ่อมบำรุงป้องคันให้เป็นระบบมากขึ้น เพื่อลดเวลาสูญเปล่าของเครื่องจักร เพื่อให้เครื่องจักรอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน และอัตราการขัดข้องน้อยลง จำเป็นจะต้องมีการวางแผนการบำรุงรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ ชนิด สาเหตุของการขัดข้อง และระยะเวลาเฉลี่ยของเหตุขัดข้อง จะถูกนำมากำหนดเป็นแผนงานการบำรุงรักษา โดยแผนงานการบำรุงรักษาจะถูกกำหนดเป็นระยะยาวระยะกลาง และระยะสั้นคือแผนงานการบำรุงรักษาหลัก 5 ปี แผนงานการบำรุงรักษาประจำปี แผนการบำรุงรักษารายเดือน และแผนการบำรุงรักษารายสัปดาห์ ตามลำดับ จากการศึกษาและประเมินผลโดยการเปรียบเทียบผลการปรับปรุงระบบซ่อมบำรุงป้องกันก่อนและหลังการปรับปรุง เป็นระยะเวลา 3 เดือน พบว่า ค่าเฉลี่ยเวลาสูญเปล่าของเครื่องจักรลดลงจาก 28.97% เหลือ 22.63% และผลผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นประมาณ 2% จากผลผลิตเฉลี่ยต่อเดือน 1,263.678ใบ เป็น 1,288,951 ใบ
dc.description.abstractalternative The maintenance system study has beat conducted for a food can industry for which machines are very important. This research has studied and set up a preventive maintenance system to improve maintenance activities and machine efficiency. To keep tile machine in a good condition and ready to operate at all time, there must be an effective maintenance plan. The type and failure causes of parts in all machine and mean time between failure were taken into account in the plan. Tile study includes 5 years master maintenance plans including annual, monthly and weekly plan. By comparing the results of the previous preventive maintenance system with that of the improved system, it is found that the machine time loss can be reduced by average 28.97% to 22.63% resulting in production increment of about 2% by average from average monthly production of 1,263,678 units to 1,288,951 units.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การบำรุงรักษาโรงงาน en_US
dc.subject เครื่องจักรกล -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม en_US
dc.subject อุตสาหกรรมภาชนะบรรจุอาหาร en_US
dc.subject Plant maintenance en_US
dc.subject Machinery -- Maintenance and repair en_US
dc.subject Food container industry en_US
dc.title การปรับปรุงระบบการซ่อมบำรุงเพื่อประสิทธิภาพการดำเนินงาน กรณีศึกษาโรงงานผลิตกระป๋องบรรจุอาหาร en_US
dc.title.alternative Improvement of maintenance system for operational efficiency : a food can factory case study en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วิศวกรรมอุตสาหการ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Vanchai.R@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record