DSpace Repository

เศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชีวิตแบบพุทธ

Show simple item record

dc.contributor.advisor สมภาร พรมทา
dc.contributor.advisor ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์
dc.contributor.author ศิริกุล ดำรงมณี, 2506-
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-05-18T15:57:58Z
dc.date.available 2020-05-18T15:57:58Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.issn 9741746466
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65860
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 en_US
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาวิเคราะห์คำสอนของพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ว่ามีทัศนะทางเศรษฐศาสตร์อย่างไร โดยเปรียบเทียบกับเศรษฐกิจพอเพียง จากการวิจัยพบว่าหลักคำสอน"ทางสายกลาง" ของพุทธศาลนา เป็นแนวทางที่สอดคล้องกับความพอดี และพอเพียงในเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้ แนวคิดทางเศรษฐกิจของทั้งสองระบบ ยังนำไปสู่การแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ และปัญหาต่าง ๆ ของสังคมได้ โดยเป็นการแก้ปัญหาและป้องกันปัญหาก่อนที่จะเกิด ด้วยการให้ความเข้าใจต่อการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง โดยต้องเริ่มที่ใจหรือสัมมาทิฐิก่อน จากนั้นจึงนำไปสู่การปฏิบัติโดยยืนอยู่บนหลักการของ ความพอประมาณ มีเหตุผลและพึ่งตนเองได้ อนึ่งทุกคนสามารถเข้าสู่แนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงได้โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเกษตรกรเท่านั้น ในท้ายที่สุด งานวิจัยนี้เสนอว่าเศรษฐกิจพอเพียงนั้น สามารถเสริมส่วนที่เป็นข้อด้อยของเศรษฐกิจระบบทุนนิยม โดยผ่านทางคนในระบบที่ ดำเนินชีวิตตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง
dc.description.abstractalternative The objective of this thesis is to comparatively study the economic teaching of Theravada Buddhism and Sufficiency Economy. It is found that the Buddhist “Middle Way” conforms with Sufficiency Economy’s “balance and sufficiency.” It is also found that these two system of economic thought make a contribution to the solution of economic and social problems by means of the right view. That is people are advised to practice the right view first and followed by middle way economy. Finally, the thesis has a view that Sufficiency Economy can be practiced by people other than the peasants and Suffic ency Economy is not necessary isolated from the mainstream economy used in the society. In such a case, the role of Sufficiency Economy is to make the mainstream economy, say Capitalism more sympathetic.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2003.117
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject เศรษฐศาสตร์ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา en_US
dc.subject เศรษฐกิจพอเพียง en_US
dc.subject พุทธศาสนาเถรวาท en_US
dc.subject การดำเนินชีวิต en_US
dc.subject Economics -- Religious aspects -- Buddhism en_US
dc.subject Theravada Buddhism en_US
dc.subject Hinayana Buddhism en_US
dc.subject Conduct of life en_US
dc.title เศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชีวิตแบบพุทธ en_US
dc.title.alternative Sufficiency economy and the Buddhist way of life en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline พุทธศาสน์ศึกษา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Somparn.P@chula.ac.th
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2003.117


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record