DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างตัวก่อความเครียดในงาน เรื่องรบกวนในชีวิตประจำวัน และความเครียด โดยมีรูปแบบพฤติกรรมแบบเอ ความเชื่อในแหล่งการควบคุม และความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเป็นตัวแปรกำกับ

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชัยพร วิชชาวุธ
dc.contributor.author นฤชยา กองจินดา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2020-05-25T07:16:30Z
dc.date.available 2020-05-25T07:16:30Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.isbn 9741735707
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66010
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวก่อความเครียดในงานกับความเครียดและเรื่องรบกวนในชีวิตประจำวันกับความเครียด โดยมีรูปแบบพฤติกรรมแบบเอ ความเชื่อในแหล่งการควบคุม และความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเป็นตัวแปรกำกับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ มาตรวัดตัวก่อความเครียดในงาน มาตรวัดเรื่องรบกวนในชีวิตประจำวัน มาตรวัดความเครียด มาตรวัดรูปแบบพฤติกรรมแบบเอ มาตรวัดความเชื่อในแหล่งการควบคุม และมาตรวัดความเชื่อมั่นในความลามารถของตน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ พนักงานธนาคารพาณิชย์ 2 แห่ง จำนวน 184 คน ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบพฤติกรรมแบบเอ ความเชื่อในแหล่งการควบคุม และความเชื่อมั่นในความสามารถของตนไม่เป็นตัวแปรกำกับทั้งในความสัมพันธ์ระหว่างตัวก่อความเครียดในงานกับความเครียด และเรื่องรบกวนในชีวิตประจำวันกับความเครียด โดยตัวแปรทุกตัวทำหน้าที่เป็นตัวแปรอิสระทำนายความเครียด ตัวก่อความเครียดในงาน รูปแบบพฤติกรรมแบบเอ ความเชื่อในแหล่งการควบคุม และความเชื่อมั่นในความสามารถของตน สามารถร่วมกันทำนายการกันแปรของความเครียดได้ร้อยละ 30 ใน ขณะที่เรื่องรบกวนในชีวิตประจำวัน รูปแบบพฤติกรรมแบบเอ ความเชื่อในแหล่งการควบคุม และความเชื่อมั่นในความสามารถของตน สามารถร่วมกันทำนายการกันแปรของความเครียดได้ร้อยละ 38
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study the relationships between work stressors and stress, and between hassles and stress with the moderating effects of type A behavior pattern, locus of control, and self-efficacy. The instruments were Work Stressor Scale, Hassle scale, DASS-Stress Scale, TABP Component Measures, l-E Scale, and Self-Efficacy Scale. The subjects were 184 employees in two commercial banks. It was found that Type A behavior pattern, locus of control, and self-efficacy did not significantly moderate the relationships between work stressors and stress, and between hassles and stress. All variables functioned as independent variables predicting stress. Work stressors, type A behavior pattern, locus of control, and self-efficacy explained 30% of the variance in stress, while hassles, type A behavior pattern, locus of control, and self-efficacy explained 38% of the variance in stress.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ความเครียด (จิตวิทยา) en_US
dc.subject ความเครียดในการทำงาน en_US
dc.subject ความสามารถในตนเอง en_US
dc.subject Self-efficacy en_US
dc.subject Job stress en_US
dc.subject Stress ‪(Psychology)‬ en_US
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างตัวก่อความเครียดในงาน เรื่องรบกวนในชีวิตประจำวัน และความเครียด โดยมีรูปแบบพฤติกรรมแบบเอ ความเชื่อในแหล่งการควบคุม และความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเป็นตัวแปรกำกับ en_US
dc.title.alternative Relationships among work stressors, hassles, and stress : the moderating effects of type a behavior pattern, locus and control, and self-efficacy en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Chaiyaporn.W@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record