DSpace Repository

ความพึงพอใจของผู้รับบริการ คลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

Show simple item record

dc.contributor.advisor นิพัทธิ์ กาญจนธนาเลิศ
dc.contributor.author มยุรี ก้วยเจริญพานิชก์, 2524-
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-05-25T12:29:10Z
dc.date.available 2020-05-25T12:29:10Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.issn 9745314048
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66020
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 en_US
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนา ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการ คลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และศึกษาถึงปัจจัยที่มี ผลต่อความพึงพอใจในการรับบริการคลินิกพิเศษนอกเวลาราชการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 347 คน ซึ่งเป็นผู้รับบริการในช่วงวันที่ 14-19 ธันวาคม พ.ศ.2547 เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลเกี่ยวกับประสบการณ์การรับบริการของผู้รับบริการและส่วนที่ 2 แบบวัดความพึงพอใจของผู้รับบริการซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยอาศัยทฤษฎีการ ประเมินคุณภาพบริการ (ของเซทามล์ เบอร์รี่ และพาราสุมาน) และทฤษฎีการเช้าถึงบรึการ(ของเพนชาสกี้ร์ และโทมัส)ซึ่งจำแนกแบบวัดออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ ความพึงพอใจในด้านบุคลากรความพึงพอใจในด้านสิ่งแวดล้อมและสถานที่ ความพึงพอใจในด้านค่าใช้จ่าย ความพึงพอใจในด้านเวลา และความพึงพอใจในด้านบริการการวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS โดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test การทดสอบค่า F- test (One-way ANOVA) และการทดถอยพหุคูณแบบ Enter (Multiple Regression Analysis by Enter) ผลการวิจัยพบว่า ผู้รับบริการร้อยละ 58.8 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ประสบการณ์การรับบริการจากคลินิกพิเศษฯ จากโรงพยาบาลอื่น สถานภาพโสด พนักงานบริษัทเอก ชน การมีรายได้ตํ่ากว่า 5,000 บาทต่อเดือน และช่วงเวลาแรกที่เข้ารับบริการในวันเสาร์- อาทิตย์ ปัจจัยเหล่านี้เมื่อรวมกันสามารถนำมาทำนายความพึงพอใจของผู้รับบริการได้ร้อยละ 10.9 (P < 0.01) ผู้รับบริการที่ตอบถึงความสามารถในการเบิกค่ารักษาพยาบาลได้นั้นมีความพึงพอใจมากกว่าผู้รับบริการที่ไม่ตอบ (P < 0.05)
dc.description.abstractalternative The purposes of this cross - sectional descriptive research were to examine patients' satisfaction and related factors of the services in the special clinic at King Chulalongkorn Memorial Hospital. The samples were 347 patients which had been collected from Dec. 14, 04 - Dec. 19, 04. The instruments consisted of 2 parts. The first part was general demographic data and experiences of services. The second part, which constructed by researcher, was the questionnaire to assess quality of service theory (by Zeithaml, Berry and Parasuraman) and the approach of service theory (by Penchaky, Roy and Thomas). The later was divided in 5 parts; person satisfaction, environment and place satisfaction, expended satisfaction, time satisfaction and service satisfaction. All data were analyzed with the SPSS program to determine percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test (One-way ANOVA) and Multiple Regression Analysis by Enter. The results revealed that 58.8% of the patients expressed moderate satisfaction. The factors (experience of the special clinic in other hospitals, single marital status, employees of private firm, income below 5,000 baht per month and the first service hours on weekend) could forecast of patients’ satisfaction in 10.9% (P<0.01). The patients who had received third party payment had higher satisfaction than who had not (P<0.05).
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ en_US
dc.subject โรงพยาบาล -- ความพอใจของผู้ใช้บริการ en_US
dc.subject ความพอใจของผู้ป่วย en_US
dc.subject บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล en_US
dc.subject King Chulalongkorn Memorial Hospital en_US
dc.subject Hospitals -- User satisfaction en_US
dc.subject Patient satisfaction en_US
dc.subject Hospital nursing services en_US
dc.title ความพึงพอใจของผู้รับบริการ คลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ en_US
dc.title.alternative Patients' satisfaction of the special clinic at King Chulalongkorn Memorial Hospital en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline สุขภาพจิต en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record