dc.contributor.advisor |
Duangamol Tungasmita |
|
dc.contributor.author |
Savitree Phengboon |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Science |
|
dc.date.accessioned |
2020-05-31T14:29:40Z |
|
dc.date.available |
2020-05-31T14:29:40Z |
|
dc.date.issued |
2016 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66124 |
|
dc.description |
In Partial Fulfillment for the Degree of Bachelor of Science, Department of Chemistry, Faculty of Science, Chulalongkorn University Academic Year 2016 |
en_US |
dc.description.abstract |
The transition metal-titanosilicate catalysts (V/TS-1 and V/Ti-MCA) were successfully synthesized by hydrothermal treatment followed by impregnation method. All prepared catalysts were characterized by X-ray powder diffraction (XRD), DR-UV spectroscopy, N2 adsorption-desorption, scanning electron microscopy-energy dispersive X-ray spectroscopy (SEM-EDX) and inductively coupled plasma-optical emission spectrometry (ICP-OES). After vanadium addition, the structural of two catalysts were still similar to parent materials confirming by XRD and SEM-EDX. Additionally, the vanadium particles in catalyst were vanadium oxide (V₂O₅) phase proved by DR-UV technique. The catalytic activity of the prepared catalysts was evaluated in the oxidation reaction of benzene and naphthalene with hydrogen peroxide as the oxidizing agent. From the results, among all catalysts, V/Ti-MCA provided the best catalytic efficiency with the naphthalene conversion as 34.0% and the yield of phenol as 14.0%. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
ในงานวิจัยนี้สามารถสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะแทรนซิชันไททาโนซิลิเกต (วาเนเดียมไททา โนซิลิเกต-1 และ วาเนเดียมไททาเนียม-เอ็มซีเอ) ได้สำเร็จโดยวิธีทางความร้อน และตามด้วยวิธีเคลือบฝัง โดยผลิตภัณฑ์ที่สังเคราะห์ได้ทั้งหมดถูกตรวจสอบลักษณะทางกายภาพโดยใช้เทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ การดูดกลืนแสงยูวี การดูดซับแก๊สไนโตรเจน กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด และไอซีพี-โออีเอส หลังจากที่มีการเคลือบฝังโลหะวาเนเดียมแล้วตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งสองยังคงโครงสร้างของวัสดุต้นแบบไว้ได้ซึ่ง สามารถยืนยันด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด นอกจากนี้ สถานะของวาเนเดียมออกไซด์สามารถพิสูจน์ได้ด้วยเทคนิคการดูดกลืนแสงยูวี พบว่าวาเนเดียมอยู่ในรูปของ วาเนเดียมออกไซด์ (V₂O₅) ตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมนำไปทดสอบความสามารถในการเร่งปฏิกิริยาด้วยปฏิกิริยา ออกซิเดชันของเบนซีนและแนฟทาลีนโดยมีไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เป็นตัวออกซิไดซ์ จากผลการทดลอง พบว่า ในบรรดาตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งหมด วาเนเดียมไททาเนียม-เอ็มซีเอ มีความสามารถในการเร่งปฏิกิริยาได้ดีที่สุด มี การเปลี่ยนของแนฟทาลีนที่ 34.0 เปอร์เซ็นต์ และการเกิดผลิตภัณฑ์ฟีนอล 14.0 เปอร์เซ็นต์ |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Titanosilicate |
en_US |
dc.subject |
Catalysts |
en_US |
dc.subject |
Impregnation |
en_US |
dc.title |
Synthesis of Transition Metal-Titanosilicate Catalyst for Oxidation Reaction |
en_US |
dc.title.alternative |
การสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะแทรนซิชันไททาโนซิลิเกตเพื่อใช้ในปฏิกิริยาออกซิเดชัน |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Duangamol.N@Chula.ac.th |
|