DSpace Repository

ผลของความสำคัญของงานและความยากของงานต่อการคล้อยตาม

Show simple item record

dc.contributor.advisor คัดนางค์ มณีศรี
dc.contributor.author ชนิดา รัชชตาตะนันท์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2020-06-09T01:24:33Z
dc.date.available 2020-06-09T01:24:33Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.isbn 9740303293
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66233
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 en_US
dc.description.abstract จากวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยก่อให้เกิดผลกระทบในเรื่องปัญหาความมั่นคงต่อธุรกิจในทุก ๆ ส่วนของประเทศ ซึ่งหนึ่งในธุรกิจที่ได้รับผลกระทบอย่างมากตามสภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจในครั้งนี้ก็คือธุรกิจประกันวินาศภัย วัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้ คือ ศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ อันจะมีผลเกี่ยวเนื่องกับปัญหาความมั่นคงของธุรกิจประกันวินาศภัยและนำเอาปัจจัยเหล่านี้ใช้เป็นดัชนีตัวหนึ่งในการตรวจสอบถึงความเข้มแข็งทางการเงินและการดำเนินงานของธุรกิจประกันวินาศภัย ซึ่งการวิจัยนี้ใช้การวิเคราะห์การจำแนกกลุ่มเพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีความสำคัญในการใช้เป็นดัชนีชี้วัดและเป็น สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าถึงสถานะความมั่นคงทางการเงินของบริษัทประกันวินาศภัย โดยการใช้หลักเกณฑ์มาตรฐานจาก National Associate of Insurance Commissioners จาก International Solvency Insurance และจากระดับเงินกองทุนตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 ในการจำแนกกลุ่มความมั่นคงของบริษัทประกันวินาศภัย ซึ่งผู้วิจัยได้ทำการศึกษา โดยใช้ข้อมูลในช่วงระยะเวลาตั้งแต่ ปี พ.ศ.2537 - พ.ศ.2541 ซึ่งผลการวิจัยพบว่ามีกลุ่มอัตราส่วนทางการเงินที่สามารถบ่งชี้ความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างกลุ่มบริษัทประกันวินาศภัยที่มีสถานะทางการเงินมั่นคงและไม่มั่นคงอยู่ 4 กลุ่มอัตราส่วนในการที่จะสามารถจำแนกกลุ่มบริษัทประกันวินาศภัยตามปัญหาความมั่นคงออกจากกันได้ คือ 1. กลุ่มอัตราส่วนประสิทธิภาพในการ บริหารสินทรัพย์ 2. กลุ่มอัตราส่วนการบริหารจัดการ และ 3. กลุ่มความสามารถในการทำกำไร และ4. กลุ่มการวัดโครงสร้างหนี้ จากการศึกษาตัวแบบจำลองนี้เพื่อเป็นสัญญาณเตือนภัยทางการเงินในธุรกิจประกันวินาศภัยพบว่าตัวแบบจำลองที่ได้มีความสามารถในการจำแนกกลุ่มได้ค่อนข้างสูง ดังนั้นผลการวิจัยนี้เป็นแนวทางหนึ่งในการที่จะเป็นตัวแบบเพื่อการเป็นสัญญาณเตือนภัยล่วงทางการเงินในการบ่งชี้ถึงสถานะความมั่นคงของธุรกิจประกันวินาศภัยต่อไปได้
dc.description.abstractalternative The recent poor performance of our Thai economy has been marked by a rash of business failures in most, if not all, sectors. One industry that has been particularly sensitive to economic downturns is the property and casualty insurance business. The purpose of the research is to investigate the financial factors that is able to estimate the financial strength of the Thai property and casualty insurance business. This research used discriminant analysis to derive important financial factors as an indicators to estimate firm’s strength. The benchmakings of financial strength are obtained from those of the National Association of Insurance Commissioners, Insurance Solvency International standard investigation and by level of Equity. The data are drawn from the department of insurance during the period of 1994 to 1998. This study found the crucial factors those are significantly differentiate between strong and weak property and casualty insurance company as follow : 1) asset management ratios 2) management ratios and 3) leverage ratios and 4) profitability ratios. These financial ratios have been found to be the highly accurate measures to classify firm's financial status during 1994 to 1997. Therefore, the result of this study can be used as one of the tools to monitor and as an early warning to differentiate the financial strength of the Thai property and casualty insurance industry.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject จิตวิทยาสังคม en_US
dc.subject การคล้อยตาม en_US
dc.subject Social psychology
dc.subject Conformity
dc.title ผลของความสำคัญของงานและความยากของงานต่อการคล้อยตาม en_US
dc.title.alternative Effect of task importance and task difficulty on conformity en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยาสังคม en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Kakanang.M@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record