dc.contributor.advisor |
สมใจ เพ็งปรีชา |
|
dc.contributor.author |
วรพงศ์ เทียนไชย |
|
dc.contributor.author |
ธิดารัตน์ โลหะไพบูลย์กุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-06-15T13:43:46Z |
|
dc.date.available |
2020-06-15T13:43:46Z |
|
dc.date.issued |
2556 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66386 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556 |
en_US |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ศึกษาการทำไบโอดีเซลให้บริสุทธิ์โดยกระบวนการดูดซับด้วยถ่านกัมมันต์จากเปลือกถั่วแมคคาเดเมียร์สังเคราะห์น้ำมันไบโอดีเซลโดยใช้น้ำมันปาล์มทำปฏิกิริยาทรานเอสเทอร์ริฟิเคชันกับเมทานอลที่อัตราส่วนโดยโมลระหว่างน้ำมันต่อเมทานอลเป็น 1:12 โดยใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาหลังจากปฏิกิริยาสิ้นสุดลงจะต้องทำให้น้ำมันไบโอดีเซลบริสุทธิ์โดยทั่วไปจะใช้วิธีการล้างด้วยน้ำซึ่งผลที่ตามมาคือเกิดน้ำเสียเยอะต่อมาได้มีการพัฒนาใช้ตัวดูดซับในการล้างน้ำมันไบโอดีเซลซึ่งเป็นวิธีที่ช่วยลดปัญหาการเกิดน้ำเสียลงได้ในงานวิจัยนี้ได้เลือกใช้ถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากเปลือกถั่วแมคคาเดเมียร์โดยศึกษาปริมาณของถ่านที่ใช้ในการล้าง ได้แก่ ร้อยละ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8 และ 10 โดยน้ำหนักของถ่านกัมมันต์ต่อน้ำหนักมันน้ำมันไบโอดีเซล, เวลาที่ใช้ในการดูดซับ ได้แก่ 5, 10, 15 และ 20 นาที, เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการล้างระหว่างถ่านกัมมันต์จากเปลือกถั่วแมคคาเดเมียร์ที่ไม่ได้ถูกกระตุ้นใดๆ, ที่กระตุ้นด้วยกรดฟอสเฟอริกและที่ถูกกระตุ้นโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์และศึกษาแนวโน้มในการลดลงของกลีเซอรีนในน้ำมันไบโอดีเซลที่ผลิตจากน้ำมันปาล์ม จากการทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมที่ใช้การล้างน้ำมันไบโอดีเซลคือปริมาณของถ่านกัมมันต์10 โดยน้ำหนักของถ่านกัมมันต์ต่อน้ำหนักน้ำมันไบโอดีเซล เวลา 20 นาทีและผลจากการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการดูดซับของถ่านกัมมันต์จากเปลือกถั่วแมคคาเดเมียร์ที่ไม่ได้ถูกกระตุ้นใดๆ ที่กระตุ้นด้วยกรดฟอสเฟอริกและที่ถูกกระตุ้นโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์พบว่าถ่านกัมมันต์ที่ไม่ได้ถูกกระตุ้นมีประสิทธิภาพในการดูดซับดีที่สุดและจากศึกษาแนวโน้มในการลดลงของกลีเซอรีนพบว่ากลีเซอรีนจะลดลงเรื่อยๆเมื่อเวลาผ่านไป และจะเริ่มคงที่ที่เวลา 8 วัน |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This research aims to study the purification of biodiesel by absorption with activated carbon derived from macadamia shell. Biodiesel synthesizes from palm oil transesterificated with methanol at 1:12 by mol and NaOH as catalyst. After the reaction, biodeiesel must be purified. Generally, water purification was used in this process but it produced a lot of waste water as consequence. Then absorbent has increasingly been used due to eliminate waste water problem. This research choose to study the activated carbon derived from macadamia shell at 1%, 2%, 3%, 4%, 5%, 6%, 7%, 8% and 10% by weight based on the weight of biodiesel. The absorbing times are 5, 10, 15 and 20 min. Also compare the potential in purification between activated carbon derived from untreated macadamia carbon, macadamia carbon treated with phosphoric acid and macadamia carbon treated with KOH. Finally, to study the trend in decreasing of glycerin in biodiesel produced from palm oil. The result shows that 10%by weight of activated carbonand 20 minutes of adsorption time had the best outcome. The result showed that the most optimum condition for purification is the untreated macadamia carbon. As time passes variable glycerin tends to decline in value continuously and it be stable at 8 days Keyword |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
เชื้อเพลิงไบโอดีเซล |
en_US |
dc.subject |
คาร์บอนกัมมันต์ |
en_US |
dc.subject |
ถั่วแมคคาเดเมียร์ |
en_US |
dc.title |
การทำไบโอดีเซลให้บริสุทธิ์โดยใช้ถ่านกัมมันต์จากเปลือกถั่วแมคคาเดเมียร์ |
en_US |
dc.title.alternative |
Purification of biodiesel using activated carbon from macadamia nut shell |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
somchai.pe@chula.ac.th |
|