dc.contributor.advisor |
เสกสรร เกียรติสุไพบูลย์ |
|
dc.contributor.author |
โสภณ บัญชาบุษบง |
|
dc.date.accessioned |
2020-06-18T09:32:58Z |
|
dc.date.available |
2020-06-18T09:32:58Z |
|
dc.date.issued |
2547 |
|
dc.identifier.isbn |
9745317349 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66486 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 |
en_US |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาในเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับระบบแถวคอย เมื่อลูกค้าที่ได้รับบริการ มีความต้องการใช้บริการซ้ำ โดยอาศัยการจำลองตัวแบบแถวคอยในธุรกิจร้านอาหาร เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการให้บริการ ของนโยบายการให้บริการซ้ำที่แตกต่างกัน ระหว่างนโยบายการให้บริการแบบไม่กำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน และนโยบายการให้บริการแบบกำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน โดยมีเกณฑ์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ คือ เวลาคอยเฉลี่ยในร้านอาหารต่อลูกค้าที่เข้ามารับบริการแต่ละคน ซึ่งผลการศึกษาวิจัยเป็นดังนี้ 1. นโยบายการให้บริการแบบไม่กำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน จะมีประสิทธิภาพการให้บริการ น้อยกว่านโยบายการให้บริการแบบกำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน เมื่ออัตราการเข้ามารับบริการโดยเฉลี่ย น้อยกว่าอัตราการให้บริการโดยเฉลี่ยไม่มากนัก 2. นโยบายการให้บริการแบบไม่กำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน จะมีประสิทธิภาพการให้บริการ ไม่แตกต่างกับนโยบายการให้บริการแบบกำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน เมื่ออัตราการเข้ามารับบริการโดยเฉลี่ย น้อยกว่าอัตราการให้บริการโดยเฉลี่ยค่อนข้างมาก 3. นโยบายการให้บริการแบบไม่กำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน จะมีประสิทธิภาพการให้บริการ ไม่แตกต่างกับนโยบายการให้บริการแบบกำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน เมื่ออัตราการเข้ามารับบริการโดยเฉลี่ย มากกว่าอัตราการให้บริการโดยเฉลี่ย ในกรณีที่แถวคอยสามารถรับลูกค้าได้จำกัด และลูกค้าจะออกจากระบบโดยไม่ได้รับบริการ เมื่อแถวคอยรับลูกค้าเต็มความสามารถ |
|
dc.description.abstractalternative |
This research studies the theoretical queueing systems when customers who have been served request for additional services 1 taking restaurant operations as concrete examples. The study compares the efficiency between two policies , namely First-in First-out policy and Priority-to-the-repeating policy , where the efficiency is determined by the average waiting time. The results of the study are as follows. 1. First-in First-out policy is less efficient than Priority-to-the-repeating policy as the mean arrival rate is little lower than the mean service rate. 2. The efficiencies of the First-in First-out policy and the Priority-to-the-repeating policy are not distinguishable as the mean arrival rate is considerably lower than the mean service rate. 3. The efficiencies of the First-in First-out policy and the Priority-to-the-repeating policy are not distinguishable as the mean arrival rate is higher than the mean service rate with limited queue capacities and allow balking. |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ทฤษฎีการคอยลำดับ |
en_US |
dc.subject |
บริการอาหาร |
en_US |
dc.subject |
ร้านอาหาร |
en_US |
dc.subject |
Queuing theory |
en_US |
dc.subject |
Restaurants |
en_US |
dc.subject |
Food service |
en_US |
dc.title |
การเปรียบเทียบนโยบายการให้บริการซ้ำสำหรับร้านอาหารด้วยตัวแบบแถวคอย |
en_US |
dc.title.alternative |
A comparison on repeated service policies for restaurant operations using queueing models |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
สถิติศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
สถิติ |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Seksan.K@Chula.ac.th |
|