DSpace Repository

แนวทางการปรับปรุงภูมิทัศน์เมือง เพื่ออนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมเมืองเก่านครราชสีมา

Show simple item record

dc.contributor.advisor ดุษฎี ทายตะคุ
dc.contributor.author สฤษดิ์ ติยะวงศ์สุวรรณ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-06-19T01:20:58Z
dc.date.available 2020-06-19T01:20:58Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9741421079
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66495
dc.description วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
dc.description.abstract เมืองเก่านครราชสีมาเป็นเมืองหนึ่งที่มีอารยธรรมสืบทอดมา 300 กว่าปี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็นมรดกวัฒนธรรมทางโบราณสถานคงอยู่หลายแห่งในพื้นที่เมืองเก่านครราชสีมา ในปัจจุบันพื้นที่มรดกวัฒนธรรมถูกบดบัง รบกวนการรับรู้และมองเห็นจากองค์ประกอบภูมิทัศน์เมือง เช่น กลุ่มอาคาร ป้ายโฆษณา และองค์ประกอบถนน ที่เน้นการตอบสนองกิจกรรมทางพาณิชยกรรม การศึกษาแนวทางการปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองเพื่อนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาการตั้งถิ่นฐานของเมืองเก่านครราชสีมา ศึกษาจำนวนและตำแหน่งที่ตั้งมรดกวัฒนธรรม วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของโครงสร้างเมือง มรดกวัฒนธรรมกับองค์ประกอบภูมิทัศน์เมือง และหารูปแบบแนวทางการเสนอแนะการปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองเพื่ออนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมเมืองเก่านครราชสีมา ในการศึกษาครั้งนี้ได้เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองเพื่ออนุรักษ์มรดกวัฒนธรรม แบ่งเป็นประเด็น ได้แก่ 1.การปรับปรุงตัวพื้นที่มรดกวัฒนธรรม 2.การปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองที่เกิดขึ้นโดยรอบมรดกวัฒนธรรม 3.การปรับปรุงรูปแบบองค์ประกอบภูมิทัศน์เมืองที่สื่อต่อย่านมรดกวัฒนธรรม 4.การปรับปรุงภูมิทัศน์ของเส้นทางเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่มรดกวัฒนธรรม ในการนำผลการศึกษาไปใช้ให้เกิดผลในทางปฏิบัตินั้นมีความจำเป็นจะต้องทำการศึกษาและออกแบบในรายละเอียดสืบต่อจากแนวความคิดและข้อเสนอแนะที่ได้ออกแบบไว้ในวิทยานิพนธ์นี้
dc.description.abstractalternative The ancient city of Nakhon Ratchasima has been a fine example of heritage places boasting of rich I-SAN enlightenment for over 300. The remains of cultural heritage are still present in many aspects of architectural styles in buildings and monuments. Nowadays, the cultural heritage sites are confronted with visual pollution from bulk of buildings, sign boards and street furniture resulted from highly commercialized activities. The objectives of the study of townscape improvement guidelines for conservation of heritage culture are : firstly to study the settlement pattern of the ancient city of Nakhon Ratchasima, number and location of the heritage sites, secondly to analyze the relations of urban structure and cultural heritage sites with townscape elements, and thirdly seek for townscape improvement. In this study, townscape in the heritage cities could well be improved with respect to the following factors: 1.Improvement of cultural heritage sites 2.Improvement of the townscape around the heritage istes 3.Improvement of the pattern of townscape element that have effects on the heritage sites 4.Improvement of the townscape along the routes in relation to the heritage sites. cultural heritage sites For implementation, it is necessary to study all the details of townscape improvement in a continuous process based on conceptual designs and suggestions in this thesis.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject เมือง -- ไทย -- นครราชสีมา
dc.subject ภูมิทัศน์ -- ไทย -- นครราชสีมา
dc.subject ภูมิสถาปัตยกรรมเมือง -- ไทย -- นครราชสีมา
dc.title แนวทางการปรับปรุงภูมิทัศน์เมือง เพื่ออนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมเมืองเก่านครราชสีมา
dc.title.alternative Townscape impovement guidelines for the conservation of heritage places in Nakhon Ratchasima old town
dc.type Thesis
dc.degree.name การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การวางผังเมือง
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.email.advisor Dusadee.T@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record