dc.contributor.advisor |
Sunti Tirapat |
|
dc.contributor.author |
Vorachai Tejapaibul |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancy |
|
dc.date.accessioned |
2020-06-29T03:06:03Z |
|
dc.date.available |
2020-06-29T03:06:03Z |
|
dc.date.issued |
2005 |
|
dc.identifier.isbn |
9741751214 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66646 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2005 |
|
dc.description.abstract |
This paper studies the behavior of investors in Thai equity funds. I find that investors fund selection observed from money flows in and out of equity funds, prefers large funds with smooth returns and low management fees. Investors do not search for funds with past superior performance, both at the individual fund and the management company level. Commercial banks help their fund management affiliates attract funds better than non-bank affiliated peers. No clear superior performance is found on funds following periods of superior net cash inflows. Trading strategies created based on new money portfolios do not generate abnormal return. Money is not smart Following the flow of money would not earn investors above normal returns. Gross money flows do not affect fund performance either. Timing trading strategy in mutual fund investments do not perform better than passive investing. Aggregate flows into equity funds is not a market sentiment indicator and market returns are not driven by money flows into local equity funds. |
|
dc.description.abstractalternative |
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาพฤติกรรมของนักลงทุนที่ลงทุนในกองทุนรวมหุ้นไทย จากผลการศึกษาการเลือกซื้อหน่วยลงทุนของนักลงทุนโดยสังเกตการจากการไหลของกระแสเงินสดสุทธิเข้าออกจากกองทุน พบว่า นักลงทุนเลือกซื้อกองทุนโดยพิจารณาจากกองทุนที่มีขนาดสินทรัพย์ใหญ่ มีค่าธรรมเนียมการจัดการที่ต่ำ และให้ผลตอบแทนที่ไม่ผันผวน ทั้งนี้ นักลงทุนไม่ได้พิจารณาจากผลงานหรือผลตอบแทนของกองทุนในช่วงเวลาที่ผ่านมาทั้งผลงานในระดับกองทุนกองเดียวและผลงานรวมของกองทุนอื่นๆภายใต้บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมเดียวกัน นอกจากนี้พบว่า ธนาคารพาณิชย์มีส่วนช่วยทำให้บริษัทหลักทรัพย์จัดกองทุนรวมที่เป็นเครือเดียวกับธนาคารสามารถดึงดูดนักลงทุนได้ดีกว่าบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมอื่นที่ไม่มีธนาคารพาณิชย์สนับสนุน สำหรับผลตอบแทนของกองทุนภายหลังจากที่มีการไหลของกระแสเงินสดสุทธิเข้าสู่กองทุนนั้น พบว่าไม่ได้ทำให้กองทุนมีผลตอบแทนที่เหนือกว่าตลาดแต่อย่างใด กลยุทธ์การลงทุนโดยพิจารณาจากเม็ดเงินใหม่ที่ไหลเข้าสู่กองทุนไม่ได้สร้างผลตอบแทนที่มากกว่าตลาดให้แก่นักลงทุน นักลงทุนไม่สามารถทำกำไรจากการลงทุนตามทิศทางการไหลของเงินลงทุน ไม่มีปรากฏการณ์เงินฉลาดเกิดขึ้นสำหรับตลาดกองทุนรวมไทย และยังพบอีกว่าปริมาณกระแสเงินสดเข้าและออกรวมกัน ไม่ได้มีผลกระทบต่อผลตอบแทนของกองทุน เมื่อทดสอบความสามารถของนักลงทุนทั้งตลาดรวมกันแล้ว พบว่าการเลือกจังหวะในการลงทุนไม่ทำให้สร้างผลตอบแทนที่สูงกว่าการถือหน่วยลงทุนในระยะยาวได้ นอกจากนั้น การที่กระแสเงินสดไหลเข้าสู่กองทุนรวมหุ้นนั้น ไม่ได้เป็นการบ่งบอกกระแสทิศทางของตลาดว่าจะเคลื่อนที่ไปทิศทางใด และการเคลื่อนไหวของตลาดไม่ได้เป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นจากกระแสเงินสดที่ไหลเข้าออกจากกองทุนรวมหุ้นไทย |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1843 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject |
Stocks |
|
dc.subject |
Mutual funds -- Thailand |
|
dc.subject |
Stockholders -- Thailand |
|
dc.subject |
หุ้นและการเล่นหุ้น |
|
dc.subject |
กองทุนรวม -- ไทย |
|
dc.subject |
ผู้ถือหุ้น -- ไทย |
|
dc.title |
Investor behavior in Thai equity funds |
|
dc.title.alternative |
พฤติกรรมของนักลงทุนในกองทุนรวมหุ้นไทย |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Finance |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2005.1843 |
|