DSpace Repository

การพัฒนาดัชนีชี้วัดการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการเหมืองแร่

Show simple item record

dc.contributor.advisor ขวัญชัย ลีเผ่าพันธุ์
dc.contributor.advisor ปองศักดิ์ ว่องวิษณุพงศ์
dc.contributor.author อรรถพล อ่างคำ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-06-29T08:08:05Z
dc.date.available 2020-06-29T08:08:05Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9741747861
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66674
dc.description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en_US
dc.description.abstract การศึกษาเพื่อพัฒนาตัวชี้วัดการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมจากโครงการเหมืองแร่ในประเทศไทยนั้นผู้วิจัยใช้กรอบแนวความคิดอิงโครงการ (Input –Process – Output – Impact) เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อม จากทั้งหมด 14 ประเด็นหลักทางด้านสิ่งแวดล้อมซึ่งทำการพิจารณาพารามิเตอร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ส่วนการจัดลำดับความสำคัญและความเหมาะสมของตัวชี้วัดใช้จะทำการศึกษาโดยประยุกต์ใช้เทคนิคเซมิเดลฟาย ผลการศึกษาสามารถพัฒนาดัชนีชี้วัดการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการเหมืองแร่ได้ทั้งหมด 32 ตัวชี้วัด ซึ่งมีความเหมาะสมสำหรับการประเมินผลการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการเหมืองแร่ ส่วนตัวชี้วัดทางด้านสังคมนั้นไม่อยู่ในขอบเขตการศึกษาในครั้งนี้ ตัวชี้วัดการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมทั้ง 32 ตัวนั้น ได้ถูกกัฒนาเพื่อให้สามารถประเมินประสิทธิภาพการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในรูปของคะแนนเพื่อที่จะสามารถคำนวณได้เป็นดัชนีชี้วัดการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อม (1) และทำการประเมินร่วมกับการถ่วงน้ำหนักของดัชนีชี้วัด การศึกษาครั้งนี้จะใช้รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) เป็นเป้าหมายสำหรับการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งผู้วิจัยใช้กรณีศึกษาจากโครงการเหมืองแร่ทองคำ ของบริษัท อัคราไมนิ่ง จำกัด ในการทดสอบการประเมินผลดัชนีชี้วัดการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อม พบว่าการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการดังกล่าวได้คะแนนเท่ากับ 4.26 ในกรณีที่คิดค่าถ่วงน้ำหนักตามลำดับความสำคัญ และ 5.0 ในกรณีที่ไม่คิดค่าถ่วงน้ำหนัก จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน en_US
dc.description.abstractalternative The study employed Input-Process-Output-Impact Framework to develop Environmental Performance Indicators for Mining Projects in Thailand. Fourteen (14) major environmental issues and their concerned parameters were listed, analyzed and categorized into appropriate indicators. In order to examine the appropriateness and priority of these indicators, a semi-Delphi technique was utilized. Thirty two (32) indicators applicable for mining projects were resulted. Social impact indicators were not included in the scope of study, however. All 32 indicators were developed to give quantitative indices and normalized to deliver the total performance index (I) with a test of weighing factors. The study was based current Environmental Impact Assessment (EIA) as a benchmark and applicability of the indicators developed was tested with reference to gold mining project, AKARA MINING LTD. The result revealed that the performance of the project was average 4.6 and 5.0 out of 10 with and without weighing factors respectively. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject เหมืองแร่ -- เครื่องชี้ภาวะสิ่งแวดล้อม en_US
dc.subject การติดตามตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม -- ดัชนี en_US
dc.subject การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม en_US
dc.subject Mines and mineral resources -- Environmental indicators en_US
dc.subject Environmental monitoring -- Indexes en_US
dc.subject Environmental impact analysis en_US
dc.title การพัฒนาดัชนีชี้วัดการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการเหมืองแร่ en_US
dc.title.alternative Development of environmental performance indicators for mining project en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วิศวกรรมเหมืองแร่ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Quanchai.L@Chula.ac.th
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record