DSpace Repository

การเลือกจำเพาะเรจิโอและความว่องไวปฏิกิริยาของ 1, 3 ไดโพลาร์ไซโคลแอดดิชันศึกษาด้วยทฤษฎีฟรอนเทียร์โมเลคิวลาร์ออร์บิทัล

Show simple item record

dc.contributor.advisor วุฒิชัย พาราสุข
dc.contributor.author นวรัตน์ ศักดิ์สุมลรัตน์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-06-30T15:17:50Z
dc.date.available 2020-06-30T15:17:50Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66716
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 en_US
dc.description.abstract ในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาปฏิกิริยาฮุสส์เกนเป็นหนึ่งในปฏิกิริยาการปิดวงแหวนของ 1,3 ไดโพลาร์ที่ถูกศึกษาอย่างแพร่หลาย งานวิจัยของ Joice และคณะแสดงให้เห็นปฏิกิริยาการปิดวงแหวนของ 1,3 ไดโพลาร์สามารถสังเคราะห์ให้ได้ผลิตภัณฑ์ซึ่งมีค่าการเลือกจำเพาะ 99% การเลือกจำเพาะของการเกิดปฏิกิริยานี้สามารถอธิบายได้ด้วยทฤษฎีฟรอนเทียร์โมเลคิวลาร์ออร์บิทัล (FMO) จากสมการของ Klopman and Salem ที่อธิบายแรงกระทำปฏิกิริยาระหว่างโมเลกุลสามารถใช้ทำนายการเลือกจำเพาะและอธิบายการเกิดปฏิกิริยาของ 1,2,3 – ไตรอะโซล ที่ประกอบด้วยสารตั้งต้น แอลดีไฮด์ (1a), ไนโตร (2a) และเอไซด์ (3a) ตามรูปข้างล่าง เพื่อเปรียบเทียบผลที่ได้จากการทดลองของ Joice และคณะ จะคำนวณแอบ อินิชิโอ ระเบียบวิธีฮาร์ทรี-ฟอค์ก เบซิสเซต 6-31g(d) และ เซมิเอมพิริกัล ระเบียบวิธีออสตินโมเดล 1 ซึ่งเป็นการคำนวณขั้นพื้นฐานอย่างง่ายทางกลศาสตร์ควอนตัมเชิงโมเลกุล ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากหากสามารถใช้การคำนวณของเซมิเอมพิริกัล ระเบียบวิธีออสตินโมเดล 1 ทำนายการเกิดปฏิกิริยาและการเลือกจำเพาะ ในงานวิจัยนี้จึงพิจารณาทั้งสองวิธีการคำนวณ พบว่าสัมประสิทธิ์ออร์บิทัลที่เป็นตัวแทนของระดับชั้น HOMO และ LUMO ไม่เป็นไปตามทฤษฎีฟรอนเทียร์โมเลคิวลาร์ออร์บิทัลต้องใช้พีออร์บิทัลของโมเลกุลสารมัธยันต์แอลคีนและของเอไซด์ในการเกิดปฏิกิริยา en_US
dc.description.abstractalternative Huisgen cycloaddition is one of the most interesting 1,3 dipolar cycloaddition that have been studied for century. Joice et.al. have shown that regioisomer of the product of 1,3 dipolar cycloaddition can be control with %ee of 99. The cycloaddition reaction have been shown to be explained by the Frontier Molecular Orbital (FMO) theory. Klopman and Salem equationbased on FMO was used to predict the regioselectivity and reactivity of 1,3 dipolar cycloaddition reaction of functionalized NH-1,2,3-triazoles from three reactants aldehyde (1a), nitro (2a), and azide (3a) as shown below and compared to experimental result of Joice et.al. Two methods, i.e. ab initio Hartree-Fock (HF) with 6-31g(d) basis set and semi-empirical AM1 were used. The AM1 is a cheap method (less computational demanding). If the method can be used to predict the regioselectivity and reactivity, it will be quite beneficial. We have found that both methods can be used to determine regioselectivity of the study reaction. However, one cannot use coefficients of HOMO and LUMO as proposed by FMO theory directly, since HOMO and LUMO do no t represent bonding orbitals. Orbitals which represent p-orbital of alkene’s C and p-orbital of azide’s N must be used instead. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.title การเลือกจำเพาะเรจิโอและความว่องไวปฏิกิริยาของ 1, 3 ไดโพลาร์ไซโคลแอดดิชันศึกษาด้วยทฤษฎีฟรอนเทียร์โมเลคิวลาร์ออร์บิทัล en_US
dc.title.alternative Regiospecificity and Reactivity of 1, 3 Dipolar Cycloaddition: a Frontier Molecular Orbital Study en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor Vudhichai.P@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record