DSpace Repository

การแปลงแผนภาพคลาสและแผนภาพซีเควนซ์ของยูเอ็มแอลเป็นแอ็บสเตร็คแมชชีนบี

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิวัฒน์ วัฒนาวุฒิ
dc.contributor.author ไวทยะ ศรีจรุณรัตน์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-07-02T06:53:55Z
dc.date.available 2020-07-02T06:53:55Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9745329002
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66788
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกฎการแปลง การออกแบบ และการพัฒนาเครื่องมือซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลงชุดของแผนภาพคลาสและแผนภาพซีแควน์จำนวนหลายแผนภาพเป็นแอ็บสแตร็คแมชชีนบีโดยกฎการแปลงแผนภาพคลาสและแผนภาพซีแควน์จำนวนหลายแผนภาพ ประกอบด้วยกฎการแปลงทั้งหมด 14 กฎ ทำให้ได้แอ็บสแตร็คแมชชีนบีที่สามารถอธิบายความหมายของระบบในเชิงโครงสร้าง และความหมายของระบบในเชิงพฤติกรรม ความหมายของระบบในเชิงโครงสร้างจะอธิบายถึงคลาส และความสัมพันธ์ทั้งหมดระหว่างคลาส ซึ่งความสัมพันธ์ทั้งหมดระหว่างคลาสจะครอบคลุมถึง ความสัมพันธ์แอสโซซิเอชัน ความสัมพันธ์แอกริเกชัน ความสัมพันธ์คอมโพสิชัน และความสัมพันธ์เจเนอรัลไลเซชัน สำหรับความหมายของระบบในเชิงพฤติกรรมจะอธิบายถึงโอเปอเรชัน ทั้งหมดจากการติดต่อกันระหว่างออบเจ็คของคลาสจำนวนหลายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากแผนภาพซีแควนซ์ แอ็บสแตร็คแมชชีนบีที่เป็นผลลัพธ์จากเครื่องมือที่พัฒนานี้ จำได้รับการตรวจสอบความถูกต้องของวากยสัมพันธ์จากโปรแกรมพิสูจน์บีทูลคิต นอกจากนี้เครื่องมือที่พัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลงชุดของแผนภาพคลาสและแผนภาพซีเควนซ์จำนวนหลายแผนภาพเป็นแอ็บสแตร็คแมชชีนบี มีความสามารถในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลนำเข้ารูปแบบของเอ็กซ์เอ็มไอ ได้แก่ การตรวจสอบความถูกต้องของการระบุชนิดของคุณลักษณะและชนิดค่าที่ส่งคืนของโอเปอเรชัน การตรวจสอบจำนวนคลาสและจำนวนออบเจ็คจากแผนภาพยูเอ็มแอล และการตรวจสอบจำนวนโอเปอเรชันของคลาสในแผนภาพคลาสและจำนวนข้อความจากการสื่อสารกันระหว่างออบเจ็คของคลาสในแผนภาพซีแควนซ์
dc.description.abstractalternative The purpose of this research is to propose transformation rules, design and development of a tool for transform class diagrams and their related sequence diagrams into B Abstract Machines (BAM). We propose 14 transformation rules of class diagrams and sequence diagrams into BAM. The expected BAMs represent the semantic of structural properties and behavior properties. The semantic of structural properties describe collection of classes and their relations which are association, aggregation, composition and generalization. The sematic of behavioral properties describe a collection of operations from scenarios illustrating the major interactions among related classes as to achieve a specific goal and sequence diagrams. The result specification in BAM has been syntactically checked by B-Toolkit program. Moreover the software tool for transforming class diagrams and sequence diagrams into BAM can check the correctness of input XMI data. The correctness of attributes type and return type of operations, number of classes versus number of objects from UML diagrams, and number of operations from class diagrams versus number of message from sequence diagrams can be checked.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ยูเอ็มแอล (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
dc.subject บี (ภาษาคอมพิวเตอร์)
dc.subject UML (Computer science)
dc.subject B (Computer program language)
dc.title การแปลงแผนภาพคลาสและแผนภาพซีเควนซ์ของยูเอ็มแอลเป็นแอ็บสเตร็คแมชชีนบี en_US
dc.title.alternative Transformation of UML class diagrams and sequence diagrams into B Abstract Machine en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Wiwat.V@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record