DSpace Repository

ผลของการฟังดนตรีตามความชอบและดนตรีธรรมชาติ ต่อการลดความเครียดของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Show simple item record

dc.contributor.advisor สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต
dc.contributor.author วรัญญา รุมแสง, 2522-
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2006-05-27T02:53:54Z
dc.date.available 2006-05-27T02:53:54Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.isbn 9741760213
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการฟังดนตรีตามความชอบและดนตรีธรรมชาติต่อความเครียดของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 120 คน ที่มีอายุตั้งแต่ 18-21 ปี โดยแบงออกเป็น 2 กลุ่มเงื่อนไข คือ 1.) กลุ่มที่ได้ฟังดนตรีตามความชอบและ 2.) กลุ่มที่ได้ฟังดนตรีธรรมชาติ การทดลองในครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบ Pretest-Posttest Design และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และ t-test ผลการวิจัยพบว่า 1.) กลุ่มที่ได้ฟังดนตรีตามความชอบและดนตรีธรรมชาติมีคะแนนความเครียดจากแบบวัด DASS-Stress Scale และความตึงตัวของกล้ามเนื้อในช่วงหลังการทดลองลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง 2.) กลุ่มที่ได้ฟังดนตรีตามความชอบและดนตรีธรรมชาติมีคะแนนความเครียดจากแบบวัด DASS-Stress Scale และความตึงตัวของกล้ามเนื้อในช่วงหลังการทดลอง ไม่แตกต่างกันทางสถิติ en
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study the effect of listening to preferred music and natural music on stress of Chulalongkorn University students. These subject were 120 Chulalongkorn University students, aged 18-21. They were devided into 2 groups with 60 each. The first group listened to preferred music and the second group listened to natural music. Pretest-Posttest Design was used and the data was analyzed by using t-test. The results of this study showed that : 1.) There was statistical significant difference at .01 level between pre-test and post-test on DASS-Stress Scale scores and muscle tension of the group listened to preferred music and the group listened to natural music. 2.) There was no statistical difference on DASS-Stress Scale scores and muscle tension between the group listened to preferred music and the group listened to natural music. en
dc.format.extent 1205829 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ความเครียด (จิตวิทยา) en
dc.subject ดนตรี en
dc.subject ดนตรีบำบัด en
dc.title ผลของการฟังดนตรีตามความชอบและดนตรีธรรมชาติ ต่อการลดความเครียดของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.title.alternative The effect of listening to preferred music and natural music on stress reduction of Chulalongkorn University students en
dc.type Thesis en
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline จิตวิทยาพัฒนาการ en
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor sompoch.l@chula.ac.th, isompoch@hotmail.com


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record