DSpace Repository

Potential use of Co-supported catalysts as a tire pyrolysis catalyst for production of valuable petrochemicals

Show simple item record

dc.contributor.advisor Sirirat Jitkarnka
dc.contributor.author Parisa Saparakpunya
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2020-07-24T06:15:32Z
dc.date.available 2020-07-24T06:15:32Z
dc.date.issued 2012
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67246
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012
dc.description.abstract According to the increasing mono-aromatics consumption and the increasing price of oil, the aromatic prices increase. The catalytic waste tires pyrolysis is one ofthe alternative techniques, which has potential to convert the waste to valuable aromatic products. In this work, the advantages of bifunctional catalysts are taken to improve the quality of tire pyrolysis products, expecially on mono-aromatics production by using 5% of cobalt supported on different zeolites, namely HY, HBETA, HMOR, HZSM-5 and SAPO-34. Moreover, 5% cobaltsupported binary support catalysts, namely HY/SAPO-34, HBETA/SAPO-34, and HMOR/SAPO-34 were studied. It is well known that HY, HBETA, HMOR and HZSM-5 have the advantages in isomerization and aromatizarion, whereas SAPO-34 has the advantage in cracking large molecules due to its pores. Therefore, combining SAPO-34 with HY, HBETA, HMOR, and HZSM-5 can be considered beneficial for thecatalytic pyrolysis of waste tire. It was found that 5%Co loaded on all supports increased gas yields and the concentration of mono-aromatics in oil products as compared to those of the pure zeolite and non-catalytic cases. Moreover, 5%Co/HY catalyst gave the highes production of light olefins, whereas 5%Co/HZSM-5 gave the highest production of cooking gas. Among the catalysts supported with acid zeolites, 5%Co/HZSM-5 catalyst was found to give the highest mono-aromatics production in the pyrolytic oil. Furthermore, the binary support catalyst, 5%Co(HMOR+SAPO-34) gave the highest mono-aromatics production among all catalysts.
dc.description.abstractalternative เนื่องจากการบริโภคสารประกอบโมโนอะโรมาติกส์มีปริมาณสูงขึ้น และประกอบกับน้ำมันมีราคาสูงขึ้น จึงส่งผลกระทบทำให้โมโนอะโรมาติกที่ใช้กันอย่างแพร่หลายนั้นมีราคาสูงขึ้นการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาในกระบวนการไพโรไลซิสยางรถยนต์ในการเปลี่ยนของเสียให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีค่าอย่างโมโนอะโรมาติกส์นั้นเป็นทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของการใช้ซีโอไลท์ร่วมกับโลหะโคบอลต์ ทั้งทางเชิงคุณภาพและปริมาณของผลิตภัณฑ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลิตภัณฑ์โมโนอะโรมาติกส์ โดยการใช้โลหะโคบอลต์ร้อยละ 5 โดยน้ำหนักบนซีโอไลท์ชนิดต่างๆ ได้แก่ เอชวาย, เอชมอร์, เอชเบต้า, เอชซีเอสเอ็มไฟว์, และซาโป้เธอตี้โฟร์ นอกจากนี้ยังศึกษาถึงผลของการใช้ตัวรองรับผสม ได้แก่ เอชวาย/ซาโป้เธอตี้โฟร์, เอชมอร์/ซาโป้เธอตี้โฟร์, เอชเบต้า/ซาโป้เธอตี้โฟร์ และ เอชซีเอสเอ็มไฟว์/ซาโป้เธอตี้โฟร์ ซึ่งเป็นที่รู้กันว่าเอชวาย, เอชมอร์, เอชเบต้า, และเอชซีเอสเอ็มไฟว์สามารถทำให้เกิดปฏิกิริยาไอโซเมอร์ไรเซชั่น และอะโรมาไตเซชั่นได้ในขณะที่ซาโป้เธอตี้โฟร์สามารถแตกพันธะโมเลกุลใหญ่ของสารตั้งต้นได้เนื่องจากมีรูพรุนในระดับมีโซ ดังนั้นการผสม เอชวาย, เอชมอร์, เอชเบต้า, และเอชซีเอสเอ๊มไฟว์กับซาโป้เธอตี้โฟร์จึงน่าจะส่งผลที่ดีในกระบวนการไพโรไลซิสยางรถยนต์หมดสภาพเมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา จากการทดสอบพบว่าการใช้ซีโอไลท์และการใช้โคบอลต์ร้อยละ 5 เติมลงบนซีโอไลท์นั้น ตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งหมดสามารถผลิตแก๊ส และโมโนอะโรมาติกส์ในน้ำมันได้มากกว่าการไม่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาหรือการใช้ตัวรองรับเพียงอย่างเดียว นอกจากนี้ร้อยละ 5 ของโลหะโคบอลต์บนเอชวายผลิตโอเลฟินส์เบามากที่สุด ในขณะที่ร้อยละ 5 ของโลหะโคบอลต์บนเอชซีเอสเอ็มไฟว์ผลิตแก๊สหุงต้ม และปริมาณโมโนอะโรมาติกส์ในน้ำมันมากที่สุดเมื่อเทียบกับตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดที่มีคุณสมบัติเป็นกรดด้วยกัน สุดท้ายนี้ยังพบว่าการผสมโลหะโบบอลต์ร้อยละ 5 บนเอชมอร์กับการผสมโรบอลต์ร้อยละ 5 บนซาโป้เธอตี้โฟร์นั้นผลิตโมโนอะโรมาติกส์มากที่สุดเมื่อเทียบกับตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดใด ๆ
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title Potential use of Co-supported catalysts as a tire pyrolysis catalyst for production of valuable petrochemicals
dc.title.alternative การใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์ที่บรรจุในตัวรองรับประเภทต่าง ๆ ในกระบวนการไพโรไลซิสยางรถยนต์หมดสภาพสำหรับเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Petrochemical Technology
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record