DSpace Repository

Relationship between money laundering and the balance of payments in the case of Thailand (1990-1997)

Show simple item record

dc.contributor.advisor Buddhagarn Rutchatorn
dc.contributor.author Tosama Muangkasem
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-07-30T09:22:11Z
dc.date.available 2020-07-30T09:22:11Z
dc.date.issued 2000
dc.identifier.issn 9743464611
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67295
dc.description Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2000 en_US
dc.description.abstract As economic growth in Thailand is expanding rapidly since 1990,economic crime and fraud is also expanding in corresponding with thegrowth. Not only that, those crime and fraud are adapting and developingnew ways and procedures to cope with new laws and regulations and hidethemselves in the system, which make than very hard to detect. In the study, economic crime and fraud can be classified as thefactor that directly influences the abnormal changes in the error of thebalance of payment. Such influences can be seen as transferring, changing,and others type of activities that snake illegal money or asset to becomelegal one. Those activities are called "Laudrying Money", and theycertainly play essential affect to Thailand net balance of payment. The study shows that Thai economic system does not have effectiverules and regulations to prevent laundrying money both in the bankingsector and the non-banking one. In conclusion, the study suggests that prevention using Offectivelaws and regulations plus getting rid of existing economics crime and fraudwill help narrow down the abnormal fluctuation in the net balance ofpayment. Therefore, support is needed and necessary from all to helpprevent and protect economic crime and fraud from Thai economy en_US
dc.description.abstractalternative เนื่องจากการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของระบบเศรษฐกิจในประเทศไทย นับตั้งแต่ปี 1990ทำให้อาชญากรรมทางเศรษฐกิจมีทิศทางการขยายตัวเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ซึ่งเป็นการขยายตัวไปพร้อมกับเศรษฐกิจที่ถูกกฎหมายและมีการปรับตัวให้สอดคล้องกับเศรษฐกิจสมัยใหม่ตลอดเวลาทำให้พบว่าในขณะที่ประเทศไทยมีภาวะเศรษฐกิจที่ขยายตัวและเข้มแข็งขึ้น จำนวนอาชญากรรมทางเศรษฐกิจก็ไม่ได้ลดลงแต่อย่างใด แต่มีลักษณะที่แอบแฝงซ่อนเร้นยากแก่การตรวจสอบมากขึ้น ในการศึกษานี้ได้พิจารณาถึงดุลการชำระเงินของประเทศไทยในส่วนของความคลาดเคลื่อนสุทธิ ซึ่งมีแนวโน้มเป็นนัยยะเดียวกันกับการเกิดอาชญากรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยการประกอบอาชญากรรมทางเศรษฐกิจจะมีการเปลี่ยนแปลง โอนย้ายหรือทำประการใดให้ทรัพย์สินที่ได้มาโดยผิดกฎหมายเป็นทรัพย์สินที่ถูกกฎหมายสามารถตรวจสอบได้ซึ่งเรียกว่าการฟอกเงิน การกระทำดังกล่าวอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความคลาดเคลื่อนสุทธิในดุลการชำระเงินของประเทศไทย ซึ่งจะทำให้ความคลาดเคลื่อนเปลี่ยนแปลงผิดปกติ จากการศึกษาพบว่าสาเหตุที่ประเทศไทยยังประสบปัญหาเรื่องการฟอกเงินอยู่เป็นเพราะกลไกและระบบธนาคารของประเทศไทยรวมทั้งระบบการเงินนอกภาคธนาคารไม่มีมาตรการป้องกันอีกทั้งประเทศไทยไม่มีกฎหมายปราบปรามการฟอกเงินที่จริงจังและรัดกุม สรุปได้ว่า จากการศึกษาหากมีการปราบปรามอาชญากรรมทางเศรษฐกิจและมีมาตรการป้องกันการฟอกเงินที่มีประสิทธิภาพควบคู่กับการใช้กฎหมายบังคับแล้วจะส่งผลให้ความคลาดเคลื่อนสุทธิในดุลการชำระเงินของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ผิดปกติ ซึ่งทั้งนี้ความร่วมมือกันเป็นสิ่งที่จำเป็นและการมีกฎหมายปราบปรามการฟอกเงินเป็นสิ่งจำเป็น ควรจะมีการสนับสนุนอย่างจริงจังเพื่อรองรับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยต่อไป en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2000.373
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject White collar crimes en_US
dc.subject Money laudering en_US
dc.subject Balance of payments -- Thailand en_US
dc.subject social problems en_US
dc.subject อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ en_US
dc.subject การฟอกเงิน en_US
dc.subject ดุลการชำระเงิน -- ไทย en_US
dc.title Relationship between money laundering and the balance of payments in the case of Thailand (1990-1997) en_US
dc.title.alternative ความสัมพันธ์ระหว่างการฟอกเงินและดุลการชำระเงินของประเทศไทย ระหว่างปี 1990-1997 en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Economics en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Economics en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Buddhagarn.R@Chula.ac.th,
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2000.373


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record