dc.contributor.advisor |
Schwank, Johannes W |
|
dc.contributor.advisor |
Anuvat Sirivat |
|
dc.contributor.author |
Sukjai Kitikiatsophon |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
|
dc.date.accessioned |
2020-08-06T02:33:31Z |
|
dc.date.available |
2020-08-06T02:33:31Z |
|
dc.date.issued |
1999 |
|
dc.identifier.isbn |
9743319387 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67391 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1999 |
|
dc.description.abstract |
Controlling the emission of toxic gases such as nitrogen dioxide (NO₂), sulfur dioxide (SO₂), hydrogen sulfide (H₂S), carbon monoxide (CO) and methane (CH₄) in the environment requires a new gas sensor that has high sensitivity, selectivity and low cost. Polyaniline is a conductive polymer that is of interest in gas sensor applications due to its reversible behavior with good chemical and air stability. In this work, polyaniline was synthesized by the oxidative coupling polymerization. Protonation doping was used to increase the electrical conductivity and the sensitivity of polyaniline film to toxic gases. Fourier Transform Infrared spectroscopy (FTIR), UV-visible spectroscopy, Thermogravimetric Analyzer (TGA), and Scanning Electron Microscope (SEM) were used to investigate the change in molecular structure, morphology and thermal stability in terms of acid concentration. Four Pint Probe techniques were used to measure the electrical conductivity of polyaniline films under nitrogen and the mixtures of nitrogen and sulfur dioxide atmosphere. |
|
dc.description.abstractalternative |
ในปัจจุบันนี้ การรั่วไหลของแก๊สพิษหลายชนิดจากโรงงานอุตสาหกรรม มีผล กระทบต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมบริเวณดังกล่าว เช่น การรั่ว ไหลของแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ แก๊สไนโตรเจนออกไซด์ และแก๊ส ไฮโดรคาร์บอนหลายๆชนิด จากโรงงานอุตสาหกรรมปิโตรเคมี การรั่วไหลของแก๊สแอมโมเนีย จากโรงงานอุตสาหกรรมปุ๋ย ตลอดจนผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งเกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่ สมบูรณ์ของเครื่องยนต์ดีเซลและเบนซิน เป็นต้น ดังนั้นการควบคุมปริมาณการรั่วไหลของแก๊ส พิษชนิดต่างๆ จึงมีความต้องการอุปกรณ์ตรวจวัดที่มีความว่องไว และมีการตอบสนองที่จําเพาะต่อ แก๊สชนิดแต่ละชนิดและมีราคาถูก การวิจัยในครั้งนี้ ได้ทําการสังเคราะห์และศึกษาคุณสมบัติของพอลิอนีลีน เพื่อ ประยุกต์ใช้ในการตรวจวัดแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เนื่องจากพอลิอนีลีนเป็นพอลิเมอร์ที่สามารถ นําไฟฟ้าได้และมีความเสถียรต่อการถูกออกซิไดซ์และเสถียรต่ออุณหภูมิสูง ตลอดจนมีความ สามารถในการผันกลับระหว่างโครงสร้างที่มีการนําไฟฟ้าที่ต่ําและสูงได้ การวิจัยในครั้งนี้ ทําการ สังเคราะห์พอลิอนีลีนด้วยวิธีการสังเคราะห์ทางเคมีแบบการออกซิไดซ์ การเพิ่มความสามารถใน การนําไฟฟ้าของพอลิอนีลีน และการเพิ่มความว่องไวที่จําเพาะต่อแก๊สพิษของฟิล์มพอลิอนีลีน สามารถกระทําได้โดยใช้เทคนิคการ โดปแบบ โปรโตเนชั่น การศึกษาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง โมเลกุลและโครงสร้างสัณฐานและความเสถียรต่ออุณหภูมิซึ่งขึ้นกับความเข้มข้นของกรดไฮโดร คลอริก สามารถศึกษาโดยใช้เทคนิค FTIR, UV-visible spectroscopy, TGA, และ SEM การศึกษาคุณสมบัติการนําไฟฟ้าของฟิล์มพอลิอนีลืนภายใด้บรรยากาศของแก๊สไนโตรเจน และ แก๊สผสมระหว่างแก๊สไนโตรเจนและแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์สามารถศึกษาโดยใช้เทคนิค Four Point Probe |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject |
Polymers -- Electric properties |
|
dc.subject |
Gas detectors |
|
dc.subject |
Thin films |
|
dc.subject |
โพลิเมอร์ -- สมบัติทางไฟฟ้า |
|
dc.subject |
อุปกรณ์ตรวจจับก๊าซ |
|
dc.subject |
ฟิล์มบาง |
|
dc.title |
Preparation and characterizations of polyaniline films for gas sensor application |
|
dc.title.alternative |
การสังเคราะห์และตรวจสอบคุณสมบัติของฟิล์มพอลิอนีลีนเพื่อประยุกต์สำหรับการตรวจวัดแก๊ส |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Polymer Science |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|