dc.contributor.advisor |
จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย |
|
dc.contributor.author |
เกตุแก้ว รักษาชาติ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-08-14T04:38:44Z |
|
dc.date.available |
2020-08-14T04:38:44Z |
|
dc.date.issued |
2542 |
|
dc.identifier.isbn |
9743340203 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67478 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมองตนเองของเยาวชนที่ติดยาเสพติด ทั้งนี้เพื่อที่จพนำผลการศึกษาที่ได้ไปใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการมองตนเองที่มีผลต่อปัญหายาเสพติด ข้อมูลในการวิจัยเก็บรวบรวมจากเยาวชนที่กระทำผิดฐานเสพติดจากสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนกลาง โดยใช้แบบสอบถามจำนวน 200 ราย และโดยการสัมภาษณ์เจาะลึกจำนวน 10 ราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเยงเบนมาตรฐาน และการทอลองสอบค่า t-test ซึ่งทดสอบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัย พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ของกลุ่มตัวอย่างเยาวชนชายและเยาวชนหญิงที่ติดยาเสพติดที่นำมาสึกษาเปรียบเทียบครั้งนี้ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติดังนี้ คือ 1. เยาวชนที่มีการศึกษาสูงมีการมองตนเองแตกต่างจากเยาวชนที่มีการศึกษาต่ำ โดยที่เยาวชนที่มี การศึกษาต่ำมีการมองตนเองด้านร่างกายสูงกว่าเยาวชนที่มีการศึกษาสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. เยาวชนที่มีระยะเวลาในการเสพติดต่ำกว่า 2 ปี มีการมองตนเองแตกต่างจากเยาวชนที่มีระยะเวลา ในการเสพติดสูงกว่า 2 ปี โดยที่เยาวชนที่มีระยะเวลาในการเสพติดยาเสพติดต่ำมีการมองตนเองในด้านร่างกาย ด้านส่วนตัว ด้านสังคม และด้านที่เกี่ยวกับการติดยาเสพติดสูงกว่าเยาวชนที่มีระยะเวลาในการเสพติดสูง อย่างมี สำคัญทางสถิติ 3.เยาวชนที่กระทำผิดครั้งแรกมีการมองตนเองแตกต่างจากเยาวชนที่กระทำผิดซ้ำ โดยที่เยาวชนที่กระ ทำผิดครั้งแรกมีการมองตนเองสูงกว่าเยาวชนที่กระทำผิดซ้ำในทุกด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research are to study the self concept of drug users and to bring the results to be guideline in solving this problem of the juvenile delinquency. Interview questionnaires were used to collect data of 200 cases from the youth drug users in the Central Observation and Protection Center and used In-depth Interview for 10 cases The statistical tools used in analyzing the data are percentage arithmetic average standard deviation and t-test with the significant level at 0.05. The results of research found that the relationship between different variables of the sample group and their self concept scores are different in statistical significance as follows :- 1. Youth , who has lower education level got higher self concept scores about his body more than one who has higher education level 2.Youth , who got experience in using drug less than 2 years got self concept scores about his body , personal life, society and drug addict appearance much more than one who got expenence in drug user more than 2 years. 3.The first offence youth got self concept higher than the recidivism got. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject |
เยาวชน -- การใช้ยา |
|
dc.subject |
คนติดยาเสพติด -- ไทย |
|
dc.subject |
การรับรู้ตนเองในวัยรุ่น |
|
dc.subject |
เยาวชน -- การใช้ยา |
|
dc.subject |
สังคมประกิต |
|
dc.title |
การมองตนเองของเยาวชนที่ติดยาเสพติด : ศึกษากรณีสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนกลาง |
|
dc.title.alternative |
Self concept of youth drug users : a case study of the Central Observation and Protection Center |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
สังคมวิทยามหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
สังคมวิทยา |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|