DSpace Repository

Characteristics of naïve CD4⁺T cells recognized staphylococal enterotoxin b superantigen presented by naïve B cells versus monocyte-derived dendritic cells

Show simple item record

dc.contributor.advisor Kiat Ruxrungtham
dc.contributor.author Kaj Chokeshai-u-saha
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Graduate School
dc.date.accessioned 2020-08-14T08:41:33Z
dc.date.available 2020-08-14T08:41:33Z
dc.date.issued 2011
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67505
dc.description Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2011
dc.description.abstract To determine role of human naïve B cell in antigen presentation and stimulation to naïve CD4⁺T cell. To improve the yield and purity of human naïve B cell sepration, we have shown that inclduing B cell enrichment rosetting step prior to magnetic cell sorting, the puriy of the obtained naïve B cel purity was from 90±2.2% to 97±1.0% even when starting from a small blood voulume of 10 ml. The acquired naïve B cells were at the resting state and considered as poor antigen presentng cells as judged by their CD69(-)CD80(lo)CD86(lo) phenotypes. These naïve B cellls could activate naïve CD4⁺T cells by SEB presentation to acquire CD4(+)CD25(+)CD62L(hi)CD95(lo) phenotypes with limited IL-2 and IL-4 producton. Howerver, the SEB-primed CD4⁺T cells had no suppressive function on allo CD4⁺T cells' proliferation. Thus the SEB-pused naïve B cel system could not induce regulatory T cell differentiation. To determine whether naïve B cell from various sources may have different characteristcs, we compared dfferential gene expresson among peripheral, splenic and tonsilar naïve B cell using available data from literatures. The result revealed increased cell activation of lymphoid when compared with peripheral naïve B cell which might also affect their antigen presentation property. However, further warrat in this issue and other contributors were needed to understand the role of naïve B cell in human regulatroy T cel differentiation.
dc.description.abstractalternative ศึกษาคุณสมบัติในการนำเสนอแอนติเจนของเซลล์เม็ดเลือดขาวนาอีฟบีลิมโฟไซท์ในมนุษย์ เราปรับปรุงกะบวนการแยกนาอีฟบีลิมโฟไซท์ โดยเพิ่มขั้นตอนโรเซตติงก่อนขั้นตอนการแยกด้วยแมกเนติคบีดตามปกติ กระบวนการแยกเซลล์ดังกล่าว สามารถใช้กับตัวอย่างเลือดเพียง 10 มิลลิลิตร และให้เซลล์ที่มีความบริสุทธิ์ของบีลิมโฟไซท์ละนาอีฟบีลิมโฟไซท์สูงถึง 99% (±0.5) และ 97% (±1.0) ตามลำดับ กะบวนการดังกล่าวนอกจากไม่กระตุ้นเซลล์แล้ว นาอีฟบีลิมโฟไซท์ที่แยกได้ยังสามารถนำมาใช้ศึกษาการนำเสนอสแตฟไฟโลคอคคัสเอนเทอโรทอกซินชนิดบีต่อไปได้ ผลการวิเคราะห์โมเลกุลบนผิวเซลล์พบว่า นาอีฟบีลิมโฟไซท์ที่ได้มีคุณสมบัติไม่เหมาะสมต่อการนำเสนอแอนติเจนเพื่อกระตุ้นการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันดังเช่นที่ตรวจพบบนเซลล์เดไดรติก ซึ่งสอดคล้องกับผลการกระตุ้นทีลิมโฟไซท์ผ่านการนำเสนอสเตฟไฟโลคอดคัสบีผ่านนาอีฟบีลิมโฟไซท์ เนื่องจากทีลิมโฟไซท์ที่ได้รับการกระตุ้นปรากฏลักษณะบางประการของเซลล์อ่อน ร่วมกับการผลิตไซโตไคน์กลุ่มเอฟเฟคเตอร์ในระดับต่ำ อย่างไรก็ตามเซลล์ดังกล่าวไม่แสดงคุณสมบัติยับยั้งการแบ่งตัวของเซลล์ในหลอดทดลอง ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการนำเสนอสแตฟไฟโคคอคคัสเอนเทอโรทอกซินชนิดบีผ่านนาอีฟบีลิมโฟไซท์ ไม่สามารถกระตุ้นให้นาอีฟทีลิมโฟไซท์พัฒนาไปเป็นเรกกูราทอรีทีลิมโฟไซท์ได้ เพื่อศึกษาความแตกต่างด้านคุณสมบัติของนาอีฟบีลิมโฟไซท์ที่แยกจากเลือดหรืออวัยวะในระบบน้ำเหลือง ที่แตกต่างคุณสมบัติการนำเสนอแอนติเจนของเซลล์แตกต่างกันหรือไม่อย่างไร จึงได้วิเคราะห์ความแตกต่างในการแสดงออกของยีนส์และพบว่า มีเซลล์มีสภาวะการถูกกระตุ้นที่แตกต่างระหว่างนาอีฟบีลิมโฟไซท์ที่แยกจากอวัยวะในระบบน้ำเหลือง อันได้แก่ ต่อมน้ำเหลือง ม้ามและจากกระแสโลหิต ผลการศึกษาทั้งหมดแสดงให้เห็นว่า การกระบวนเหนี่ยวนำการพัฒนาเรกกูราทอรีทีลิมโฟไซท์โดยอาศัยอีฟบีลิมโฟไซท์ ต้องอาศัยปัจจัยที่เหมาะสมหลายประการและจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมต่อไปในอนาคต
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject B cells
dc.subject Antigen presenting cells
dc.subject Lymphocytes
dc.subject Leucocytes
dc.subject บีเซลล์
dc.subject เซลล์ส่งมอบแอนติเจน
dc.subject ลิมโฟไซต์
dc.subject เม็ดเลือดขาว
dc.subject ปริญญาดุษฎีบัณฑิต
dc.title Characteristics of naïve CD4⁺T cells recognized staphylococal enterotoxin b superantigen presented by naïve B cells versus monocyte-derived dendritic cells
dc.title.alternative การศึกษาคุณสมบัติของเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดซีดีสี่-ทีลิมโฟไซท์ ภายหลังได้รับการนำเสนอสแตฟไฟโลคอคคัสเอนเทอโรทอกซินชนิดบีด้วยเซลล์ชนิดนาอีฟบีลิมโฟไซท์ เทียบกับการที่ได้รับการนำเสนอด้วยเซลล์ประเภทเดนไดรติคที่พัฒนาจากเซลล์เม็ดเลือดขาวโมโนไซท์
dc.type Thesis
dc.degree.name Doctor of Philosophy
dc.degree.level Doctoral Degree
dc.degree.discipline Biomedical Sciences
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record