DSpace Repository

การประเมินสถาปัตยกรรมการแบ่งกลุ่มข้อมูลที่ระดับการประยุกต์สำหรับการส่งภาพผ่านอินเทอร์เน็ต

Show simple item record

dc.contributor.advisor เจษฎา ชินรุ่งเรือง
dc.contributor.author ทรงพล มั่นคงสุจริต
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-08-20T08:58:30Z
dc.date.available 2020-08-20T08:58:30Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.issn 9743464352
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67648
dc.description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 en_US
dc.description.abstract การส่งภาพผ่านระบบอินเทอร์เน็ตประกอบด้วยการบีบอัดข้อมูลภาพและการส่งข้อมูลภาพ ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่แยกออกจากกันอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตามสถาปัตยกรรมการแบ่งกลุ่มข้อมูล ที่ระดับการประยุกต์หรือเอแอลเอฟเป็นความพยายาม ในการรวมกระบวนการทั้งสองให้เป็นกระบวนการเดียวกัน ภายใต้สมมติฐานที่ว่าลักษณะของข้อมูลที่ส่งผ่านช่องการสื่อสารถูกกำหนดจากวิธีการบีบอัดข้อมูล ดังนั้นกระบวนการส่งข้อมูลจะมีประสิทธิภาพสูงขึ้นเมื่อสามารถจัดการและควบคุมการบีบอัดข้อมูลได้ ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ได้ทำการทดสอบการส่งภาพทางการแพทย์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยกำหนดเงื่อนไขในการส่งภาพ 3 ลักษณะ ได้แก่ การส่งภาพที่ไม่มีการบีบอัดข้อมูล การส่งภาพที่มีการบีบอัดข้อมูลแบบไม่มีการสูญเสียซึ่งใช้การแปลงเวฟเล็ตแบบเต็มหน่วยตามมาตรฐานเจเพ็ก 2000 และการส่งภาพที่มีการบีบอัดข้อมูลดังกล่าวร่วมกับสถาปัตยกรรมเอแอลเอฟ เพื่อหาเวลาเฉลี่ยที่ใช้ในการส่งข้อมูลภาพ พบว่า การส่งภาพที่มีการบีบอัดข้อมูลใช้เวลาเฉลี่ยลดลงประมาณร้อยละ 20 ของเวลาที่ใช้สำหรับการส่งภาพที่ไม่มีการบีบอัดข้อมูล และเมื่อใช้สถาปัตยกรรมเอแอลเอฟร่วมกับการส่งภาพที่มีการบีบอัดข้อมูล เวลาเฉลี่ยของการส่งภาพลดลงประมาณร้อยละ 30 เมื่อเทียบกับการส่งภาพที่ไม่มีการบีบอัดข้อมูล Image transmission in the Internet environment consists of two separate pr en_US
dc.description.abstractalternative Image transmission in the Internet environment consists of two separate processes – data compression and data transmission over the communication channel. The application level framing architecture or ALF proposes merging of these two processes into a single procedure under the hypothesis that the transmitted data over the channel are tailored by data compression process. Thus, data transmission process should be more efficient by managing and controlling data compression process. In this thesis, medical image transmission over the Internet environment had been studied on three different configurations: image transmission without data compression, image transmission with lossless data compression using discrete wavelet transform according to the JPEG2000 standard, and image transmission using the same compression technique as above with ALF architecture. The results show that the average time for image transmission with data compression is lower by 20% compared with image transmission without data compression. When ALF architecture is used, the average time for image transmission with data compression is lower by 30% compared to that required by transmission without data compression. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject เจเพ็ก en_US
dc.subject การบีบอัดภาพ -- มาตรฐาน en_US
dc.subject เวฟเล็ต (คณิตศาสตร์) en_US
dc.subject JPEG (Image coding standard) en_US
dc.subject Image compression -- Standards en_US
dc.subject Wavelets (Mathematics) en_US
dc.title การประเมินสถาปัตยกรรมการแบ่งกลุ่มข้อมูลที่ระดับการประยุกต์สำหรับการส่งภาพผ่านอินเทอร์เน็ต en_US
dc.title.alternative Evaluation of the application-level-framing architecture for image transmission in the Internet environment en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วิศวกรรมไฟฟ้า en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Chedsada.C@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record