DSpace Repository

From chitosan flakes to chitosan nanospheres: investigation of nanosphere structure and factor related to nanosphere formation and model drug incorporation

Show simple item record

dc.contributor.advisor Suwabun Chirachanchai
dc.contributor.advisor Rangrong Yoksan
dc.contributor.author Chantiga Choochottiros
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2020-08-25T07:53:01Z
dc.date.available 2020-08-25T07:53:01Z
dc.date.issued 2009
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67705
dc.description Thesis (Ph.D)--Chulalongkorn University, 2009
dc.description.abstract Development of chitosan as nanomaterial is proposed by modification of functional group on chitosan chain. Grafting phthalic anhydride and α-caboxylpropyl- ω-methoxy polyethylene glycol (mPEG-COOH) on chitosan exhibits spherical form via self-assembly process in aqueous system. The molecular weight of mPEG plays an important role to control the particle size. As compared to mPEG 2000, which gives a bimodal nanosphere (∼200, and ∼300 nm), mPEG 5000 initiates a monodispersed nanosphere with the smaller size (150 nm). In aqueous solution, the nanosphere surface is negatively charged resulting in a well dispersion in neutral to high pH but a significant precipitation in low pH. The studies on model drug (lidocaine, campthotecin, and proteins) incorporation with chitosan nanospheres exhibit efficiency of nanosphere as drug and/or vaccine carrier.
dc.description.abstractalternative การพัฒนาไคโตซานเพื่อเป็นวัสดุที่มีขนาดระดับนาโนเมตรถูกเสนอโดยการปรับหมู่ฟังก์ชั่นบนสายโซ่ไคโตซาน การติดหมู่พทาลิกแอนไฮไดด์ และ α-คาร์บอกซิลโพรพิล-ω-เมทอกซี พอลีเอทิลลีน ไกลคอล (mPEG-COOH) บนไคโตซาน จะก่อรูปเป็นสเฟียร์โดยผ่าน กระบวนการรวมตัวกันเองในระบบที่มีน้ำเป็นองค์ประกอบ น้ำหนักโมเลกุลของ mPEG เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการควบคุมขนาดของอนุภาคนาโนสเฟียร์ เมื่อเปรียบเทียบอนุภาคที่ได้จากการติดหมู่ mPEG 2000 อนุภาคนาโนสเฟียร์ที่ได้จะมีลักษณะการกระจายตัวของขนาดอนุภาคแบบคู่ (~200 และ ~300 นาโนเมตร) กรณี mPEG 5000 จะได้อนุภาคนาโนสเฟียร์ที่มีกระจายอนุภาคแบบเดี่ยว และมีขนาดอนุภาคที่เล็กกว่า (150 นาโนเมตร) เมื่อไคโตซานนาโนสเฟียร์กระจายตัวในน้ำ ค่าประจุที่ผิวของอนุภาคจะแสดงค่าเป็นลบ ซึ่งส่งผลต่อการกระจายตัวในอนุภาคที่สภาวะพีเอชต่าง ๆ ได้แก่ การเกิดกระจายตัวในสภาวะที่เป็นกลางถึงเบส แต่จะเกิดการตกตะกอนในสภาวะที่เป็นกรด การศึกษาการเก็บกักหรือการตรึงโมเลกุลยาต้นแบบ (ลิโดเคน แคมโทเทซิน และโปรตีน) แสดงถึงประสิทธิภาพในการนำไคโตซานนาโนสเฟียร์ไปใช้เป็นตัวนำส่งยาหรือโปรตีน
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title From chitosan flakes to chitosan nanospheres: investigation of nanosphere structure and factor related to nanosphere formation and model drug incorporation
dc.title.alternative จากแผ่นไคโตซาน เป็นไคโตซานนาโนสเฟียร์: การตรวจสอบโครงสร้างของไคโตซานนาโนสเฟียร์และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการก่อรูปเป็นนาโนสเฟียร์ และการอยู่ร่วมกันกับโมเลกุลยาต้นแบบ
dc.type Thesis
dc.degree.name Doctor of Philosophy
dc.degree.level Doctoral Degree
dc.degree.discipline Polymer Science
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record