dc.contributor.advisor |
Siriporn Jongpatiwut |
|
dc.contributor.advisor |
Thirasak Rirksomboon |
|
dc.contributor.advisor |
Thammanoon Sreethawong |
|
dc.contributor.advisor |
Somchai Osuwan |
|
dc.contributor.author |
Issariya Chirddilok |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
|
dc.date.accessioned |
2020-08-25T08:07:25Z |
|
dc.date.available |
2020-08-25T08:07:25Z |
|
dc.date.issued |
2009 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67706 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2009 |
|
dc.description.abstract |
Because of the rapid development of biodiesel production by the transesterification of vegetable oil, large quantities of glycerol are available as a reaction by-product. One of the most attractive routes to convert glycerol to high value-added products is the catalytic dihydroxylation of glycerol to propylene glycol. In this study, the catalytic activity of dihydroxylation reaction was investigated over CuZnO/A1₂O₃ catalysts prepared by co-precipitation was also examined. It was found that the stability of the co-precipitated catalyst was higher than those of the impregnated catalyst. The TEM, TPR, and XRD measurements revealed that a better catalytic performance of the co-precipitated catalyst was assigned to the highly dispersed copper oxide species in spinel-like matrix. |
|
dc.description.abstractalternative |
เนื่องจากมีการผลิตไบโอดีเซลโดยกระบวนการทรานเอสเตอริฟิเคชัน (Tranesterification) เพิ่มมากขึ้นทำให้ปริมาณของกลีเซอรอลซึ่งเป็นผลพลอยได้จากปฏิกิริยาเพิ่มมากขึ้นเช่นกัน ดังนั้นการนำกลีเซอรอลไปเปลี่ยนเป็นสารเคมีที่มีมูลค่าสูงขึ้นเช่น ไพรเพนไดออลโดยผ่านปฏิกิริยาดีไฮดรอกซิเลชัน (Dehydroxylation) โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาถือเป็นทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ งานวิจัยนี้ได้ศึกษาประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาทองแดงและสังกะสีออกไซด์บนอะลูมินา (CuZnO/A1₂O₃) ในการทำปฏิกิริยาดีไฮดรอกซิเลชันโดยเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาไฮดรอกซิเลชันโดยเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยวิธีเอิบชุ่ม (Incipient wetness impregnation) โดยใช้อุณหภูมิในการเผาที่แตกต่างกัน จากการศึกษาพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้อุณหภูมิในการเผาที่ 500 องศาเซลเซียส มีประสิทธิภาพและความเสถียรสูงกว่าเมื่อเทียบกับตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้อุณหภูมิอื่น นอกจากนี้ งานวิจัยยังได้ศึกษาประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมโดยผ่านวิธีการตกตะกอนร่วม (Co-precipitation) โดยเผาที่อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส พบว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมโดยวิธีตกตะกอนร่วมมีประสิทธิภาพและความเสถียรสูงกว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมโดยวิธีเอิบชุ่ม ทั้งนี้เนื่องจากการกระจายตัวที่ดีของทองแดงออกไซด์ในโครงสร้างสปีเนล ซึ่งวิเคราะห์ได้จากเทคนิค TEM, TPR, และ XRD. |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject |
Copper catalysts |
|
dc.subject |
Biodiesel fuels |
|
dc.subject |
ตัวเร่งปฏิกิริยาทองแดง |
|
dc.subject |
เชื้อเพลิงไบโอดีเซล |
|
dc.title |
Dehydroxylation of glycerol to propylene glycol over copper/zinc oxide-based catalyst : effect of catalyst preparation |
|
dc.title.alternative |
การผลิตโพรพิลีนไกลคอลจากกลีเซอรอลโดยตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีทองแดงและสังกะสีออกไซด์เป็นส่วนประกอบพื้นฐาน: ผลกระทบของวิธีเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Petroleum Technology |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|