DSpace Repository

Sulfur tolerance of Pt-Sn/KL and PtSnRE/Kl catalysts for n-Octane aromatization

Show simple item record

dc.contributor.advisor Siriporn Jongpatiwut
dc.contributor.advisor Thirasak Rirksomboon
dc.contributor.advisor Somchai Osuwan
dc.contributor.author Chompoonut Phungklun
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2020-09-02T08:08:26Z
dc.date.available 2020-09-02T08:08:26Z
dc.date.issued 2009
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67792
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2009
dc.description.abstract From previous studies, Sn-promoted Pt/KL prepared by vapor-phase co-impregnation exhibited high stability and selectivity to C8-aromatics for n-octane aromatization. Although the Pt/KL has many benefits, one of the serious drawbacks is its sensitivity to sulfur poisoning. Based on previous investigations, the addition of rare earth elements (RE; e.g. Tm, Ce, and Dy) into Pt/KL could improve sulfur tolerance of the catalysts. In this work, the sulfur resistance of PtSn/KL and RE-promoted PtSn/KL has been studied. PtSnRE/KL catalysts with Pt:Sn:RE ratio of 1:1:0.15 were prepared by sequential RE, then co-PtSn impregnation. The catalysts were characterized by TPR, TPO, H₂ chemisorption, and TEM. The reaction was carried out at 500°C and atmospheric pressure. The results showed that the activity and selectivity obtained with sulfur-containing feed was lower than those obtained with clean feed. In the presence of sulfur, PtSnRE/KL demonstrated higher conversion than Pt/KL and PtSn/KL, while the selectivity was not significantly improved. TPR profiles show the rupture of Pt-Sn alloy after exposing to sulfur. Even though TEM image showed higher distributed metal clusters on PtSn/KL and PtSnRE/KL, they exhibited much lower H₂ chemisorption which could be because Sn partially covered the platinum surface or modified electronic property resulted in low H₂ adsorption.
dc.description.abstractalternative จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าการเติมโลหะดีบุกลงบนตัวเร่งปฏิกิริยาแพลททินัมบนซีโอไลต์แอล (PtSn/KL) ซึ่งเตรียมสารตัวอย่างโดยวิธีการระเหิดสารประกอบแพลททินัมและดีบุกเข้าไปยังโพรงซีโอไลต์พร้อมกันมีความเสถียรและความเลือกเฉพาะกับผลิตภัณฑ์อะโรมาติกซ์ที่มีอะตอมคาร์บอน 8 อะตอมสูงสำหรับปฏิกิริยาอะโรมาไทเซชันของนอร์มัลออกเทน ถึงแม้ว่าตัวเร่งปฏิกิริยา Pt/KL จะมีข้อดีมากมาย แต่หนึ่งในข้อเสียที่สำคัญคือความว่องไวต่อการเป็นพิษของซัลเฟอร์ จากการศึกษาก่อนหน้าพบว่าการเติมธาตุหายาก (Rare earth: RE) เช่น ทูเลียม ซีเรียม และดิพโพเซียมลงบน Pt/KL น่าจะเพิ่มความทนทานต่อการเป็นพิษของซัลเฟอร์ของตัวเร่งปฏิกิริยาได้ ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงศึกษาความต้านทานต่อซัลเฟอร์ของตัวเร่งปฏิกิริยา PtSn/KL แบบที่มีและไม่มีการเติมธาตุหายากลงบนตัวเร่งปฏิกิริยานี้ (PtSnRE/KL) ตัวเร่งปฏิกิริยา PtSnRE/KL ที่มีสัดส่วนสารเคมี Pt:Sn:RE เท่ากับ 1:1:0.15 ถูกเตรียมโดยวิธีการระเหิดสารประกอบธาตุหายากบนซีโอไลต์ KL ก่อน และตามด้วยการระเหิดสารผสมแพลททินัมและดีบุกเข้าไปพร้อมกัน ตัวเร่งปฏิกิริยาถูกวิเคราะห์หาคุณสมบัติด้วยเทคนิคต่าง ๆ ได้แก่ ความสามารถในการดูดซับแก๊สไฮโดรเจน TPR TPO และ TEM การทดสอบตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับการเร่งปฏิกิริยาอะโรมาไทเซชันของนอร์มอลออกเทนทำที่อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส และที่ความดันบรรยากาศ ผลการทดลองพบว่าความสามารถในการเกิดปฏิกิริยาและความเลือกเฉพาะกับผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสารตั้งต้นที่เติมซัลเฟอร์ต่ำกว่าสารตั้งต้นที่ไม่มีซัลเฟอร์ การที่มีซัลเฟอร์ปรากฏอยู่ทำให้ปฏิกิริยา PtSnRE/KL มีการเปลี่ยนแปลงจากสารตั้งต้นไปเป็นผลิตภัณฑ์สูงกว่า Pt/KL และ PtSn/KL ในขณะที่ความเลือกเฉพาะกับผลิตภัณฑ์ไม่ได้ดีขึ้นอย่างชัดเจน รูปโครงร่างของ TPR แสดงให้เห็นถึงการแยกออกจากกันของอัลลอยด์ Pt-Sn เมื่อสารตั้งต้นมีซัลเฟอร์ เจือถึงแม้ว่ารูปของ TEM เปิดเผยถึงการกระจายตัวอย่างสูงของกลุ่มโลหะบน PtSn/KL และ PtSnRE/KL แต่จากการศึกษาความสามารถในการดูดซับแก๊สไฮโดรเจนพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งสองตัวมีการดูดซับแก๊สไฮโดรเจนที่ต่ำ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการที่ดีบุกปกคลุมลงบนผิวหน้าของแพลททินัมส่งผลให้มีการดูดซับแก๊สไฮโดรเจนต่ำลง
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title Sulfur tolerance of Pt-Sn/KL and PtSnRE/Kl catalysts for n-Octane aromatization
dc.title.alternative ความต้านทานต่อซัลเฟอร์ของโลหะแพลททินัม ดีบุก และธาตุหายาก บนตัวรองรับซีโอไลต์แอลสำหรับอะโรมาไทเซชันของนอร์มัลออกเทน
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Petroleum Technology
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record