DSpace Repository

Photocatalytic hydrogen production from water splitting under visible light Irradiation using sensitized mesoporous-assembled perovskite photocatalysts

Show simple item record

dc.contributor.advisor Thammanoon Sreethawong
dc.contributor.advisor Sumaeth Chavadej
dc.contributor.author Pichayaon Sommakettarin
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2020-09-03T08:03:37Z
dc.date.available 2020-09-03T08:03:37Z
dc.date.issued 2009
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67808
dc.description Thesis (M.Sc.) -- Chulalongkorn University, 2009 en_US
dc.description.abstract The photocatalytic water splitting is a promising process for producing hydrogen, which is an alternative energy resource. Hydrogen can be produced from two major sources of renewable energy, i.e. water and solar light, with the aid of a suitable photocatalyst. In this work, a combination of sensitizer addition and noble metal loading was employed to modify perovskite photocatalysts in order to achieve the enhancement of photocatalytic hydrogen production under visible light irradiation. The dependence of the hydrogen production on type of perovskite photocatalysts (MgTiO₃, CaTiO₃, and SrTiO₃), calcination temperature of photocatalyst, type and concentration of electron donor (diethanolamine, DEA and triethanolamine, TEA), sensitizer concentration (Eosin Y, E.Y.), photocatalyst dosage, and initial solution pH, was studied. The experimental results showed that the 0.5 wt.% Pt-loaded mesoporous-assembled SrTiO₃ prepared by single-step sol- gel method calcined at 650°C exhibited the highest photocatalytic hydrogen production activity from a 15 vol.% DEA aqueous solution with dissolved 0.5 mM E.Y. Moreover, the optimum photocatalyst dosage and initial solution pH for the maximum photocatalytic activity of hydrogen production were 6 g/1 and 11.6, respectively. en_US
dc.description.abstractalternative การแตกโมเลกุลของน้ำโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมเป็นกระบวนที่น่าสนใจเป็นอย่างมากสำหรับการผลิตไฮโดรเจนซึ่งเป็นพลังงานที่เป็นทางเลือกใหม่ ไฮโดรเจนสามารถถูกผลิตได้จากแหล่งพลังงานที่สามารถหาได้อย่างไม่จำกัดได้แก่ น้ำและแสงอาทิตย์พร้อมกับตัวเร่ง ปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมที่เหมาะสมเป็นตัวช่วยให้เกิดปฏิกิริยา ในงานวิจัยนี้ได้ทำการปรับปรุง ตัวเร่งปฏิกิริยาแบบเพอร์รอฟสไกต์โดยมีการกระตุ้นด้วยสีย้อมและตัวเร่งปฏิกิริยาร่วม เพื่อที่จะ เพิ่มปริมาณการผลิตไฮโดรเจนให้ดียิ่งขึ้นภายใต้การรับแสงในช่วงที่ตามองเห็น ซึ่งได้ทำการศึกษา ผลกระทบของตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการผลิตไฮโดรเจนได้แก่ ชนิดของตัวเร่งปฏิกิริยาแบบเพอร์ รอฟสไกต์ (ตัวเร่งปฏิกิริยาแมกนีเซียมไททาเนต, แคลเซียมไททาเนท, และ สตรอนเทียมไท ทาเนท), อุณหภูมิในการแคลไซน์, ชนิดและความเข้มข้นของสารที่ทำหน้าที่ให้อิเล็กตรอน (Diethanolamine, DEA, และ Triethanolamine, TEA), ความเข้มข้นของสีย้อม (Eosin Y, E.Y.), ปริมาณของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใส่ลงไปในระบบ, และ ค่าความเป็นกรด-ด่างเริ่มต้นของสารละลาย จากผลการทดลองพบว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมชนิดสตรอนเทียมไททาเนทที่ ใส่ตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมแพลทินัม 0.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ซึ่งถูกเตรียมด้วยวิธีการใส่ตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมแพลทินัมในขั้นตอนเดียวกับการสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาสตรอนเทียมไททาเนท (Single-step sol-gel method) และใช้อุณหภูมิในการแคลไซน์ 650 องศาเซลเซียส ส่งผลให้มีการผลิตไฮโดรเจนได้มากที่สุด จากสารละลายที่มีส่วนผสมของ DEA 15 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร และมีค่าความเข้มข้นของสีย้อม 0.5 มิลลิโมลาร์ นอกจากนั้นปริมาณของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใส่ลงไปในระบบและค่าความเป็นกรด-ด่างเริ่มต้นของสารละลาย ก็มีความสำคัญเช่นกัน โดยปริมาณตัวเร่ง ของปฏิกิริยาและค่าความเป็นกรด-ด่างที่มีความเหมาะสมมากที่สุดคือ 6 กรัมต่อลิตร และ 11.6 ตามลำดับ en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.title Photocatalytic hydrogen production from water splitting under visible light Irradiation using sensitized mesoporous-assembled perovskite photocatalysts en_US
dc.title.alternative การผลิตไฮโดรเจนจากการแตกโมเลกุลของน้ำภายใต้สภาวะที่มีแสงในช่วงตามองเห็นโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาแบบเพอร์รอฟสไกต์ที่เกาะตัวกันจนมีรูพรุนขนาดเมโซพอร์ที่ถูกกระตุ้น en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Petrochemical Technology en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Thammanoon.S@Chula.ac.th
dc.email.advisor Sumaeth.C@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record