dc.contributor.advisor |
Thirasak Rirksomboon |
|
dc.contributor.advisor |
Xiao, Huining |
|
dc.contributor.advisor |
Steward, Frank R |
|
dc.contributor.author |
Wilailak Chanklin |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
|
dc.date.accessioned |
2020-09-08T04:03:18Z |
|
dc.date.available |
2020-09-08T04:03:18Z |
|
dc.date.issued |
2009 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67825 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2009 |
|
dc.description.abstract |
The hydrophobic modification of sulfite cellulose fiber (CF) and cellulose microfibril (CMF) was conducted by grafting 1-Octadecanol (18OH) on the surfaces via covalent coupling agent, Tolylene 2,4-diisocyanate (TDI), which induced the isocyanate functionality onto the fibers surface. The grafting of 18OH onto cellulose fibers was confirmed by FTIR spectra with a peak that present a decreasing of the OH bond of the grafted fibers. The thermogravimetric analysis (TGA) indicates the amount of grafting yield which is 4.38% and 5.79% for CF-g-TDI/18OH and CMFg- TDI/18OH, respectively. Moreover, the surface morphology and hydrophobicity of the grafted fibers and the PP-based composites were investigated by scanning electron microscopy (SEM) and static contact angle measurement which resulting in the improvement of the interfacial interaction between cellulose fibers and PP matrix. |
|
dc.description.abstractalternative |
การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติความไม่ชอบน้ำของเส้นใยเซลลูโลสและเส้นใยเซลลูโลส ขนาดเล็กด้วยการกราฟต์สเตียริกแอลกอฮอล์บนผิวของเส้นใย โดยมีทีดีไอเป็นสารเชื่อมใน ปฏิกิริยาการกราฟต์ เนื่องจากทีดีไอเป็นสารที่มีหมู่ไอโซไซยาเนตซึ่งทำปฏิกิริยาเคมีกับหมู่ไฮดร อกซิลได้ดี เส้นใยที่กราฟต์แล้วถูกพิสูจน์ด้วยเครื่องมือวิเคราะห์สารด้วยอินฟราเรด พบว่า ค่า สัดส่วนการดูดซับของคลื่นอินฟราเรดของหมู่แอลกอฮอล์นั้นลดลง แสดงให้เห็นว่า การ เกิดปฏิกิริยาการกราฟต์ระหว่างเส้นใยและสเตียริกแอลกอฮอล์โดยมีทีดีไอเป็นสารเชื่อมนั้น สามารถพัฒนาความไม่ชอบน้ำของเส้นใยได้ในขณะที่เครื่องมือการวัดน้ำหนักโดยใช้ความร้อนได้แสดงผลผลิตจากการกราฟต์ที่ร้อยละ 4.38 และ 5.79 สำหรับเส้นใยเซลลูโลสและเส้นใย เซลลูโลสขนาดเล็ก นอกจากนั้น ผลการทดสอบลักษณะทางสัณฐานวิทยาของพื้นผิวของเส้นใย และวัสดุผสมโพลีโพรพิลีนชีวภาพด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็คตรอนแบบส่องกราด พบว่าแรงยึด เหนี่ยวพันธะระหว่างเส้นใยและโพลีโพรพิลีนดีขึ้น สืบเนื่องมาจากการกราฟต์ของสเตียริก แอลกอฮอล์ ในขณะที่ค่าความไม่ชอบน้ำของวัสดุผสมมีค่ามากขึ้น จากการทดสอบด้วยการวัดมุมสัมผัสของวัสดุผสมที่กราฟต์ด้วยสเตียริกแอลกอฮอล์ พบว่า องศาความสัมผัสเพิ่มขึ้นจาก 0 องศาเป็น 136 และ 111 องศา สำหรับเส้นใยเซลลูโลสและเส้นใยเซลลูโลสขนาดเล็กตามลำดับ นั่นคือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างพื้นผิวของเส้นใยและโพรลีโพพิลีนนั้นพัฒนาขึ้น |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.title |
Hydrophobic-modified cellulose fibers and cellulose microfibrils as reinforcement for biocomposites |
|
dc.title.alternative |
วัสดุผสมชีวภาพจากการเปลี่ยนแปลงเส้นใยเซลลูโลส (CF) และเส้นใยเซลลูโลสขนาดเล็ก |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Petrochemical Technology |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|