dc.contributor.author |
เสาวรจน์ ช่วยจุลจิตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2008-05-02T08:09:03Z |
|
dc.date.available |
2008-05-02T08:09:03Z |
|
dc.date.issued |
2543 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6792 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ได้ทำการสังเคราะห์พอลิพาราไดฟีนิลเมทิลเทเรฟทาลาไมด์ ซึ่งเป็นอะโรมาติกพอลิเอไมด์ชนิดหนึ่ง ด้วยกรดเทเรฟทาลิก และ 4,4' เมทิลีนไดอะนิลีน โดยที่กรดเทเรฟทาลิกเป็นมอนอเมอร์ซึ่งได้จากการรีไซเคิลทงเคมีของขวดเพทที่ใช้แล้วด้วยกระบวนการแอซิดไฮโดรลิซิสส่วน 4,4' เมทิลีนไดอะนิลีนเป็นมอนอเมอร์ที่ได้จากการย่อยสลายเศษโฟมพอลิยูรีเทนชนิดแข็งด้วยกระบวนการอะมิโนลิซิส ความบริสุทธิ์ของกรดเทเรฟทาคิลิกที่เตรียมได้เมื่อตรวจสอบด้วยเทคนิค HPLC พบว่ามีค่าสูงสุดประมาณ 92 เปอร์เซ็นต์ และความบริสุทธิ์ของ 4,4' เมทิลีนไดอะนิลีน ที่เตียมได้เมื่อตรวจสอบด้วยเทคนิค GPC พบว่ามีค่าสูงสุดประมาณ 83 เปอร์เซ็นต์ ในการสังเคราะห์พอลิพาราไดฟีนิลเมทิลเทเรฟทาลาไมด์ พบว่าการใช้แคลเซียมคลอไรด์และลิเทียมคลอไรด์เป็นสารช่วยการละลายร่วมกันทำให้ได้พอลิเมอร์ที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงกว่าการใช้แคลเซียมคลอไรด์หรือลิเทียมคลอไรด์เพียงอย่างเดียว ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบน้ำหนักโมเลกุลและสมบัติทางความร้อนของพอลิพาราไดฟีนิลเมทิลเทเรฟทาลาไมด์ที่เตรียมจากรีไซเคิลมอนอเมอร์และจากมอนอเมอร์บริสุทธิ์ พบว่าการใช้รีไซเคิลกรดเทเรฟทาลิก และ 4,4' เมทิลีนไดอะนิลีนบริสุทธิ์ ทำให้ได้พอลิเมอร์ที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงกว่าการใช้กรดเทเรฟทาลิกบริสุทธิ์ และรีไซเคิล 4,4' เมทิลีนไดอะนิลีน ซึ่งสมบัติทางความร้อนของพอลิเมอร์ทั้งหมดที่สังเคราะห์ได้ไม่มีความแตกต่างกัน โดยทั้งหมดไม่แสดง T[subscript g] ให้ปรากฏและมี T[subscript m] สูงประมาณ 530 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ พอลิเมอร์ทั้งหมดที่เตรียมได้ยังมีเสถียรภาพทางความร้อนในช่วงอุณหภูมิ 100-500 องศาเซลเซียส เช่นเดียวกัน |
en |
dc.description.abstractalternative |
In this research, poly(p-diphenylmethyl terephthalamide) (PMA) which is an aromatic polyamide was synthesized by using terephthalic acid (TA) and 4,4' methylenedianiline (MDA) monomers. The first monomer, TA, was obtained from chemical recycling of PET waste bottles via acid hydrolysis process while the second monomer, MDA, was obtained from the decomposition of rigid polyurethane foams by aminolysis process. The highest purity of resulting recycled TA, measured by HPLC, was about 92%. The highest purity of resulting recycled MDA, examined by GPC, was about 83%. The polymericzation of PMA was carried out using calcium chloride (CaCl[subscript 2]) andlithium chloride (LiCl) as solubilizing in order to obtain high molecular weight polymer. It was found that by using CaCl[subscript 2] and LiCl together, the PMA had higher molecular weight than those obtaubed CaCl[subscript 2] or LiCl alone. In comparison, the PMA obtained from pure monomers had higher molecular weight than those obtained from recycled monomes.The preparation of PMA from mixtures of pristine monomers and recycled monomers was also investigated. The result showed that PMAs obtained from recycled TA and pure MDA had higher molecular weights than those obtained from recycled MDA and pure TA. The thermal properties of all obtained PMA were not significantly different in that T[subscript g] was not observed and T[subscript m] was about 530 C. In addition, their thermal stability was in the range of 100-450 C. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ประจำปี 2542 |
en |
dc.format.extent |
6771369 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
อะโรมาติกพอลิเอไมด์--การสังเคราะห์ |
en |
dc.subject |
แอซิดไฮโดรลิซิส |
en |
dc.title |
การสังเคราะห์อะโรมาติกพอลิเอไมด์โดยใช้โมโนเมอร์ที่เตรียมได้จาก การย่อยสลายขวดเพทที่ใช้แล้วและเศษโฟมพอลิยูรีเทน : รายงานผลการวิจัย |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
saowaroj@sc.chula.ac.th |
|