DSpace Repository

Eepression and characterization of a recombinant novel snake venom metalloproteinase from green pit viper (Cryptelytrop albolabris)

Show simple item record

dc.contributor.advisor Ponlapat Rojnuckarin
dc.contributor.author Panchalee Jangprasert
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Medicine
dc.date.accessioned 2020-09-18T09:44:48Z
dc.date.available 2020-09-18T09:44:48Z
dc.date.issued 2009
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68019
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2009
dc.description.abstract Snake venom metaloproteases (SVMPs) may degrade extracellular matrix and/or clotting factors, as well as inhibit integrin and platelet functions, studying them not only gives US deeper insights in pathogenesis of snakebites, but also potentially yields novel antiplatelet agents. A clone of novel RGD-containing, P-ll type, snake venom metalloproteinase was isolated from the green pit viper, C. albolabris, venom gland cDNA library. Sequence analysis revealed that it belonged to P-llb subclass of SVMP and 81% identical to Jerdonitin from Trimeresurus jerdonii. They contained 2 conserved cysteines forming a disulfide bond, which held metalloproteinase and disintegrin together in mature proteins. The N-terminally histidine-tagged construct of metalloproteinase and disintegrin domains was inserted into the pPICZ α A vector and expressed in Pichia pastoris. The recombinant protein was approximately 32kD on Western blot probed with anti-polyhistidine antibody. The recombinant SVMP dose dependently inhibited platelet aggregation induced by collagen with the IC₅₀ of 5.6 µM. . However, there was no effect on ADP-induced platelet aggregation. Therefore, the inhibition mechanism should be through blocking of collagen receptor(s). This recombinant protein has a potential to be a novel anti-platelet agent.
dc.description.abstractalternative โปรตีนเมตาโลโปรตีเนสจากพิษงูมีฤทธิ์ตัดย่อยเนื้อเยื่อรอบเซลล์ ปัจจัยการแข็งตัวของ เลือด และ ยับยั้งการทำงานเกล็ดเลือด การศึกษาโปรตีนนี้ไม่เพียงแต่ให้ความรู้เกี่ยวกับพยาธิ กำเนิดของงูกัด แต่ยังอาจทำให้ได้ยาต้านเกล็ดเลือดชนิดใหม่ เราได้โคลนของโปรตีนเมตาโลโปรตีเนสชนิด'ใหม่ซึ่งมีลำดับเบส RGD ที่แยกได้จากห้องสมุด cDNA ของต่อมพิษของของงูเขียวหางไหม้ท้องเหลืองคริปเทไลทรอปส์ อัลโบลาบรีส การวิเคราะห์ลำดับเบสพบว่าโปรตีนจัดอยู่ในกลุ่มย่อย P-llb ของโปรตีนเมตาโลโปรตีเนสจากพิษงูและมีความเหมือนกับ Jerdonitin จากงู Trimeresurus jerdonii ร้อยละ 81 โดยมีส่วนของซิสเทอีนที่เหมือนกันซึ่งเกิดไดซัลไฟด์บอนด์จับระหว่างเมตาโลโปรตีเนสและดิสอินทริกรินเข้าด้วยกัน cDNA ซึ่งติดฉลากด้วยฮิสทิดีนที่ปลายด้านอมิโนประกอบด้วยของโดเมนส่วนเมตาโลโปรตีเนสและดิลอินทริกรินถูกนำมาใส่ในพาหะ pPICZαA และแสดงออกในยีสต์ Pichia pastoris โปรตีนที่แสดงออกมีขนาดประมาณ 32 กิโลดาลตัน จากการทำ Western blot ที่จับด้วยแอนติบอดีต่อ polyhistidine โปรตีนลูกผสมมีความสามารถในการยับยั้งการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือดจากการกระตุ้นด้วยคอลลาเจนโดยขึ้นกับความเข้มข้น ความเข้มข้นที่ยับยั้งการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือดได้ร้อยละ 50 (IC₅₀) คือ 5.6 ไมโครลิตร แต่ไม่สามารถยับยั้งการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือดที่กระตุ้นด้วย เอดีพี ดังนั้นกลไกการยับยั้งอาจเกิดจากการขัดขวางการเข้าจับที่ตัวรับของคอลลาเจน โปรตีนนี้มีศักยภาพที่จะนำไปใช้เป็นสารต้านการแข็งตัวของเกร็ดเลือดชนิดใหม่ได้
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject Snake Venoms
dc.subject พิษงู
dc.subject งูพิษ
dc.subject งูเขียวหางไหม้ท้องเหลือง
dc.title Eepression and characterization of a recombinant novel snake venom metalloproteinase from green pit viper (Cryptelytrop albolabris)
dc.title.alternative การแสดงออกและคุณสมบัติของโปรตีนลูกผสมเมตาโลโปรตีนตีเนสชนิดใหม่จากพิษงูเขียวหางไหม้ท้องเหลือง (คริปเทไลทรอปส์ อัลโบบาลรัส)
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Medical Science
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record