dc.contributor.advisor |
Boonyarach Kitiyanan |
|
dc.contributor.advisor |
Sumaeth Chavadej |
|
dc.contributor.author |
Chadakarn Sittiarjharn |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
|
dc.date.accessioned |
2020-09-25T02:32:28Z |
|
dc.date.available |
2020-09-25T02:32:28Z |
|
dc.date.issued |
2010 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68164 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2010 |
|
dc.description.abstract |
The aim of this research was to investigate the microemulsion formation of motor oil with alcohol ethoxylates (AEs), nonionic surfactants derived from palm oil. The AEs with different numbers of the ethylene oxide group (EO) (3, 5, 7, and 9) were used for forming microemulsions at various temperatures (20C, 30C, 40C, and 50C). The addition of medium-chain alcohols (n-butanol, n-hexanol, and n-octanol) as cosurfactants was crucial to the formation of these microemulsion systems. Among the studied alcohols, n-hexanol was the most effective cosurfactant in terms of middle microemulsion phase formation (Winsor Type III microemulsion). For the same number of EO, as the temperature increased, not only the critical microemulsion concentration (CµC) was decreased, but the amount of AEs that is required in order to form Winsor Type IV microemulsion was also reduced. |
|
dc.description.abstractalternative |
งานวิจัยนี้ได้มุ่งศึกษาพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงวัฎภาคของการเกิดไมโครอิมัลชันของน้ำมันเครื่องกับแอลกอฮอล์ อีท็อกซีเลท ที่มีหมู่อีโอ (EO Group) จำนวนแตกต่างกันตั้งแต่ 3, 5, 7 และ 9 หมู่ โดยเติมแอลกอฮอล์ซึ่งทำหน้าที่เป็นสารลดแรงตึงผิวร่วมที่มีความยาวสายโซ่แตกต่างกัน ได้แก่ นอมัล บิวทานอล (n-butanol) นอมัล เฮกซานอล (n-hexanol) และนอมัล ออกตานอล (n-octanol) ในช่วงอุณหภูมิ 20, 30, 40 และ 50 องศาเซลเซียส โดยการสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงวัฎภาคของแต่ละระบบหลังเข้าสู่สมดุล แล้วนำมาสร้างฟิชไดอะแกรมเพื่อหาค่าความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวและสารลดแรงตึงผิวร่วมต่ำสุดที่ทำให้เกิดวัฏภาคชั้นกลางของไมโครอีมัลชัน (วินเซอร์แบบที่ 3) ค่าความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวและสารลดแรงตึงผิวร่วมต่ำสุดที่ทำให้เกิดวัฏภาคเนื้อเดียวของไมโครอิมัลชัน (วินเซอร์แบบที่ 4) นอกจากนี้ยังหาค่าความสามารถในการละลาย และอุณหภูมิที่ทำให้เกิดความขุ่นของสารละลายลดแรงตึงผิวในแต่ละระบบอีกด้วยจากการศึกษา พบว่า การใช้แอลกอฮอล์ทั้งสามชนิดเป็นสารลดแรงตึงผิวร่วม โดยเฉพาะการเติมนอมัล เฮกซานอล สามารถช่วยให้เกิดวัฎภาคชั้นกลางของไมโครอิมัลชันได้เป็นอย่างดี สำหรับการศึกษาผลของอุณหภูมิต่อการเกิดไมโครอิมัลชัน พบว่า เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นส่งผลให้ค่าความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวและสารลดแรงตึงผิวร่วมต่ำสุดที่ทำให้เกิดวัฎภาคชั้นกลางของไมโครอีมัลชัน และความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวที่ทำให้เกิดวัฎภาคเนื้อเดียวของไมโครอิมัลชันมีค่าลดลง |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject |
Microemulsions |
|
dc.subject |
Surface active agents |
|
dc.subject |
ไมโครอิมัลชัน |
|
dc.subject |
สารลดแรงตึงผิว |
|
dc.title |
Microemulsion formation of motor oil with alcohol ethoxylates : effects of temperature and cosurfactant chain length |
|
dc.title.alternative |
การเกิดไมโครอิมัลชันของน้ำมันเครื่องด้วยแอลกอฮล์อีท็อกซีเลท : ผลของอุณหภูมิและความยาวสายโซ่ของสารลดแรงตึงผิวร่วม |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Petrochemical Technology |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|