DSpace Repository

Hydrogen production from the oxidative steam reforming of methanol over Au/CeO2 catalysts

Show simple item record

dc.contributor.advisor Apanee Luengnaruemitchai
dc.contributor.advisor Gulari, Erdogan
dc.contributor.author Chinchanop Pojanavaraphan
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2020-09-25T03:33:36Z
dc.date.available 2020-09-25T03:33:36Z
dc.date.issued 2010
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68170
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2010
dc.description.abstract The production of hydrogen by the oxidative steam reforming of meth (OSRM) was investigated on a series of Au/CeO₂ catalysts prepared by depoesition-precipitation. The influences of the main parameters considered on the methanol conversion are the H₂O/CH₃OH and O₂/CH₃OH feed molar ratios, content of Au loading, calcination temperature, and operating reaction temperature. Among all the samples studied, l%wt Au/CeO₂ exhibited nearly a 100 % methanol conversion and 23.63% H₂ yield at 300 ℃. Optimum operating conditions— GHSV = 30,000 ml/ h- gcat, T = 300 ℃, H₂O/CH₃OH molar ratio = 2/1, and O₂/CH₃OH molar ratio = 1.25/1 — could be suggested to obtain the high methanol conversion and hydrogen yield. Interestingly, 5% wt Au/ CeO₂ exhibited the highest activity under the optimum conditions with 100% methanol conversion and 24.5% H₂ yield since larger Au particle sizes might be more active in OSRM without metal sintering during the reaction. In the stability test, methanol conversion dropped rapidly from 100% to 88.8 % after 40 h due to a blocking of pores by coke formation; whereas an average H₂ yield at 16.12% was still steady.
dc.description.abstractalternative งานวิจัยนี้ศึกษากระบวนการผลิตก๊าซไฮโดรเจนด้วยกระบวนการเปลี่ยนรูปเมทานอลด้วยอน้ำและก๊าซออกซิเจนโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาทองบนตัวรองรับชนิดซีเรียออกไซด์ที่เตรียมด้วยวิธีการยึดเกาะควบกู่กับการตกผลึก (Deposition-precipitation) ตัวแปรที่ศึกษาที่มีอิทธิพลต่อค่าการเปลี่ยนแปลงของเมทานอล (methanol conversion) เช่น อัตราส่วนโดยโมลของ H₂O/CH₃OH และ O₂/CH₃OH ปริมาณของทองที่ใช้ในการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา รวมถึงอุณหภูมิที่ใช้ในการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา (calcination temperature) และช่วงของอุณหภูมิที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาในเตาปฏิกรณ์ขนาดเล็ก ผลการศึกษาในสภาวะเริ่มด้นพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยา l%wt Au/CeO₂ ให้ผลร้อยละการเปลี่ยนแปลงเมทานอล 100 และร้อยละผลผลิตของไฮโดรเจน 23.63 ที่อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส ณ สภาวะอัตราส่วนโดยโมลของ H₂O/CH₃OH เท่ากับ 2/1 และ O₂/CH₃OH เท่ากับ 1.25/1 ซึ่งเป็นสภาวะที่เหมาะสมที่สุดต่อการเกิดปฏิกิริยาดังกล่าว เพื่อให้การเปลี่ยนแปลงเมทานอลและค่าผลิตผลของไฮโดรเจนมากที่สุด อย่างไรก็ตามในส่วนของการศึกษาผลของตัวเร่งปฏิกิริยาพบว่า 5%wt Au/CeO₂ ให้ร้อยละการเปลี่ยนแปลงเมทานอลและผลิตผลของไฮโดรเจนสูงสุดเท่ากับ 100 และ 24.5 ตามลำดับ ในสภาวะการเกิดปฏิกิริยาเดียวกัน เนื่องจากมีขนาดอนุภาคของโลหะทองที่ใหญ่ที่สุด ส่งผลให้มีความว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยาสูงสุด โดยปราศจากภาวะการรวมตัวเป็นกลุ่มก้อน (sintering) นอกจากนี้ในการทดสอบความเสื่อมสภาพของตัวเร่งปฏิกิริยา พบว่าร้อยละการเปลี่ยนแปลงของเมทานอลลดลงอย่างรวดเร็วจาก 100 เป็น 88.8 หลังจากทำการทดสอบเป็นเวลา 40 ชั่วโมง สาเหตุที่เป็นเช่นนั้นมาจากการที่โค้ก (coke) ไปอุดรูพรุน (blocking) ที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยา อย่างไรก็ตามค่าของร้อยละผลิตผลไฮโดรเจนยังคงมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 16.12 ตลอดช่วงเวลาที่ทำการทดสอบการเสื่อมสภาพ
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title Hydrogen production from the oxidative steam reforming of methanol over Au/CeO2 catalysts
dc.title.alternative กระบวนการผลิตก๊าซไฮโดรเจนจากปฏิกิริยาเปลี่ยนรูปเมทานอลด้วย ไอน้ำและก๊าซออกซิเจนโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาทองบนซีเรียออกไซด์
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Petroleum Technology
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record