DSpace Repository

Desulfurization of diesel fuel by adsorption via π-complexation using activated carbon and alumina modified with Cu(I) and Ni(II)

Show simple item record

dc.contributor.advisor Pomthong Malakul
dc.contributor.advisor Thomas, Michel
dc.contributor.author Jitlada Atireklapwarodom
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2020-09-25T03:40:44Z
dc.date.available 2020-09-25T03:40:44Z
dc.date.issued 2010
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68171
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2010
dc.description.abstract The adsorptive desulfurization of simulated diesel fuel at DBT concentration of 150 ppm S was studied by using macro and mesoporous alumina (M-Al₂O₃, m-Al₂O₃) and activated carbon (AC) impregnated by Cu(II) and Ni(II), by using the incipient wetness method with an aqueous solution of CuCl₂ and NiCl₂, Cu²⁺ was then reduced to Cu⁺ by H₂. The effect of amount of metal loading was investigated by varying the concentration of metal at 100%, 75% and 50% of the theoretical monolayer surface coverage. The optimum adsorption temperature was found to be 30 ℃ while the optimum flow rate was 0.4 cm³/min. The presence of metal seemed to reduce the breakthrough and adsorption capacity, the lower concentration of metal loading at 50% of the monolayer capacity for both Cu⁺ and Ni²⁺ on alumina showed a higher adsorption capacity than 75% and 100% probably by lowering the accessible porosity in agreement with result from B.E.T. surface area and SEM. Moreover, the smaller size at diameter 300-500 µm which crushed after impregnation of the 100% monolayer of Cu⁺/m-Al₂O₃ showed the higher breakthrough than normal size (extruded length 4 mm) and also higher than the same small size crushed before impregnation. For all among of the adsorbents, the breakthrough capacity decreased in order of 43 wt% of Cu⁺/AC > AC > 100% monolayer of Cu⁺/m-Al₂O₃ (300-500 µm crushed after impregnation) > non-impregnated m-Al₂O₃ > 50% monolayer of Ni²⁺/m-Al₂O₃.
dc.description.abstractalternative งานวิจัยนี้ได้ศึกษากระบวนการการกำจัดสารประกอบกำมะถันจากน้ำมันดีเซลโดยกระบวนการดูดซับ โดยศึกษาการดูดซับไดเบนโซไทโอฟีนในแบบจำลองน้ำมันดีเซลที่มีความเข้มข้นของกำมะถันที่ 150 ส่วนต่อล้านส่วน โดยใช้ตัวดูดซับคืออะลูมินาที่มีรูพรุนขนาดใหญ่และขนาดกลาง (Macroporous และ Mesoporous alumina; M-Al₂O₃ และ m-Al₂O₃) และถ่านถัมมันต์ (Activated carbon หรือ AC) แล้วถูกทำให้ชุ่มด้วย Cu²⁺ และ Ni²⁺ โดยใช้สารละลายเกลือคลอไรด์ของโลหะ (CuCl₂ และ NiCl₂) ซึ่งภายหลัง Cu²⁺ จะถูกรีดิวซ์เป็น Cu⁺ โดยใช้ก๊าซไฮโดรเจน รวมทั้งได้มีการศึกษาอิทธิพลของปริมาณโลหะบนตัวดูดซับที่ปริมาณ 100%, 75% และ 50% ของพื้นผิวตัวดูดซับแบบชั้นเดียว (monolayer) อุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับการดูดซับคือ 30 องศาเซลเซียส ขณะที่อัตราการไหลที่เหมาะสมของแบบจำลองน้ำมันดีเซลคือ 0.4 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที จากผลการทดลองพบว่า การเติมโลหะบนตัวดูดซับ ทำให้ความสามารถในการดูดซับไดเบนโซไทไอฟีนลดลง โดยปริมาณ Cu⁺ และ Ni²⁺ ที่ 50% ของพื้นผิวตัวดูดซับ มีความสามารถในการดูดซับไดเบนโซไทโอฟีนสูงกว่าที่ปริมาณ 75% และ 100% ของพื้นผิวตัวดูดซับ เนื่องจากเมื่อปริมาณโลหะเพิ่มขึ้นทำให้ความเป็นรูพรุนของตัวดูดซับลดลง ซึ่งสอดคล้องกับผลการทดลองจากการศึกษาพื้นที่ผิวด้วย B.E.T. และ SEM นอกจากนี้พบว่า 100% monolayer ของ Cu⁺/m-Al₂O₃ ที่เส้นผ่านศูนย์กลางของตัวดูดซับ 300-500 ไมโครเมตร ที่ถูกบดหลังจากการทำให้ชุ่มด้วย Cu⁺ มีความสามารถในการดูดซับมากกว่าตัวดูดซับชนิดเดียวกันที่ขนาดปรกติ (ความยาว 4 มิลลิเมตร) และมากกว่าตัวดูดซับชนิดเดียวกัน ขนาดเดียวกัน ที่ถูกบดก่อนทำให้ชุ่มด้วย Cu⁺ และจากการศึกษาตัวดูดซับทั้งหมดพบว่า ความสามารถในการดูดซับของไดเบนโซไทโอฟีนลดลงตามลำดับดังนี้ 43 wt%Cu⁺/AC > AC > 100% monolayer ของ Cu⁺/m-Al₂O₃ (ขนาด 300-500 ไมโครเมตร ที่ถูกบดหลังจากการทำให้ชุ่มด้วย Cu⁺) > m-Al₂O₃ > 50% monolayer ของ Ni²⁺/m-Al₂O₃
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject Diesel fuels
dc.subject Sulfur compounds -- Absorption and adsorption
dc.subject Carbon, Activated
dc.subject Aluminum oxide
dc.subject น้ำมันดีเซล
dc.subject สารประกอบซัลเฟอร์ -- การดูดซึมและการดูดซับ
dc.subject คาร์บอนกัมมันต์
dc.subject อะลูมินัมออกไซด์
dc.title Desulfurization of diesel fuel by adsorption via π-complexation using activated carbon and alumina modified with Cu(I) and Ni(II)
dc.title.alternative การกำจัดสารประกอบกำมะถันดีเซลโดยกระบวนการดูดซับโดยใช้ถ่านกัมมันต์และอลูมินาดัดแปลงโดยคอปเปอร์และนิกเกิลเป็นตัวดูดซับ
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Petroleum Technology
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record