DSpace Repository

Functionalized natural rubber: rubber parts for gasohol resistance

Show simple item record

dc.contributor.advisor Rathanawan Magaraphan
dc.contributor.author Khantharat Phothiphon
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2020-10-05T04:18:47Z
dc.date.available 2020-10-05T04:18:47Z
dc.date.issued 2010
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68278
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2010
dc.description.abstract Nowadays, the global warming and the increasing of oil price lead to use petroleum resources carefully and reduce the use of petroleum by using other alternative energy resources. Gasohol is the one of those altermative energy which important for automobile and has a widely use in Thailand. It is a kind of the combination between gasoline and ethanol or hydrocarbon and polar solvent. The material which can resist deteriorating from gasohol is limited. NR and PHBV do not dissolve in ethanol which can be developed to be a thermoplastic vulcanizate (TPV) incorporated with PVDF, the high chemical resistant. The TPV is derived from dynamic vulcanization process which has a melt mixing of polymers and vulcanization reaction by peroxide, DBPH, is occur at the same time. The results found that the increasing amount of DBPH provides the high mechanical properties and reduce the degree of swelling in gasohol. The addition of ESO can improve the mechanical properties and the resistance to swell from gasohol with the swelling percentage lower 50 and 150 % at the temperatures of 25 and 100 °C, respectively. The morphology of TPV was also improved. The rubber phase was deformed into particles with the sized of I micron and had well dispersed in thermoplastics phase.
dc.description.abstractalternative จากสภาวะโลกร้อนในปัจจุบันประกอบกับราคาน้ำมันที่พุ่งสูงขึ้นทำให้มีการใช้พลังงานจากปิโตรเลียม ลดน้อยลงและทดแทนโดยการใช้พลังงานทางเลือกอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น น้ำมันแก๊สโซฮอลเป็นหนึ่งในพลังงาน ทางเลือกที่จำเป็นพลังงานทางเลือกที่จำเป็นสำหรับยานพาหนะที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิง ซึ่งใช้กันอย่างแพร่ หลายในประเทศไทย แก๊สโซฮอลได้จากการผสมน้ำมันเบนซินกับเอทานอลที่สัดส่วนต่างๆ ซึ่งก็คือของผสมระหว่างไฮโดรคาร์บอนที่ไม่มีขั้วกับตัวทำละลายมีขั้ว ดังนั้นวัสดุที่สามารถทนทานได้ทั้งสารละลายมีขั้วและไม่ มีขั้วจึงค่อนข้างมีจำกัดและมีราคาแพง ด้วยสมบัติของยางธรรมชาติซึ่งมีมากมายในประเทศไทยและพลาสติกชีวภาพอย่าง PHBV ที่ไม่ละลายในเอทานอลนนั้น สามารถนำมาพัฒนาเป็นวัสดุที่สามารถทนแก๊สโซฮอลร่วม กับพลาสติกทนสารเคมีสูงอย่าง PVDF ได้ กลายเป็นวัสดุใหม่ที่เรียกว่า เทอร์โมพลาสติกยางวัลคาไนซ์ (Thermoplastic vulcanizate : TPV) วัสดุเทอร์โมพลาสติกยางวัลคาไนซ์เตรียมได้จากเทคนิคการคงรูปแบบพลวัต (dynamic vulcanization) ซึ่งเป็นการผสมพลาสติกในสภาวะหลอมเหลวไปพร้อมๆ กับการคงรูปยางด้วยสารคงรูปเปอร์ออกไซด์อย่าง DBPH ผลการศึกษาพบว่า เมื่อเพิ่มปริมารสารคงรูป DBPH สมบัติทางกลและสมบัติการด้านทานต่อการบวมพองในน้ำมันแก๊สโซฮอลจะเพิ่มขึ้นด้วย เมื่อใส่น้ำมันถั่วเหลืองอิพ๊อกซิไดซ์ ซึ่งเป็นสารช่วยผสมชีวภาพลงไปในของผสมที่มีส่วนผสมของวัสดุทั้งสามในสัดส่วน NR/PVDF/PHBV เท่า กับ 50/40/10 พบว่า สารช่วยผสมมีบทบาทสำคัญในการลดความหนืดและปรับปรุงความเข้ากันได้ของวัสดุทั้ง สาม รวมทั้งปรับปรุงสมบัติทางกล สมบัติการด้านทานต่อการบวนในน้ำมันกีสโซฮอลที่ดีขึ้น โดยมีเปอร์เซ็นต์ การบวนพองไม่เกิน 50 และ 150 % ทีอุณหภูมิ 25 และ 100 องศาเซลเซียส ตามลำดับ สารช่วยผสม ESO ยังช่วยปรับปรุงโครงสร้างสัณฐานของวัสดุเทอร์โมพลาสติกวัลคาไนซ์โดยทำให้ยางกระจายตัวเป็นอนุภาคขนาดเล็กประมาณ 1 ไมครอน อยู่ในเฟสของเทอร์โมพลาสติกด้วย
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title Functionalized natural rubber: rubber parts for gasohol resistance
dc.title.alternative การปรับปรุงยางธรรมชาติเพื่อใช้งานด้านชิ้นส่วนยางทนน้ำมันแก๊สโซฮอล
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Polymer Science
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record