DSpace Repository

A randomized controlled trial of laparoscopic cholecystectomy using abdominal wall lifting technique or tension pneumoperitoneum in the treatment of gallstones

Show simple item record

dc.contributor.advisor Sompop Limpongsanurak
dc.contributor.advisor Piyalumporn Hawanond
dc.contributor.author Taveesin Tanprayoon
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Graduate School
dc.date.accessioned 2020-10-09T05:03:01Z
dc.date.available 2020-10-09T05:03:01Z
dc.date.issued 1998
dc.identifier.isbn 9743310991
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68480
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1998
dc.description.abstract Objective: To compare the results of laparoscopic cholecystectomy using either abdominal wall lifting technique or tension pneumoperitoneum. Design: A randomized controlled clinical trial. Setting: A university hospital Patients: Eighty-four patients with gallstone, who passed the eligibility criteria, were randomly allocated to either abdominal wall lifting or tension pneumoperitoneum group. Outcome Measurements: Success rate, complication rate including cardiac arrhythmia, postoperative pain and costs in patient’s and provider’s perspectives were evaluated. Main Results: Baseline characteristics of the 2 groups were comparable in age sex, associated diseases and history of previous cholecystitis. The clinical results were: 1. The success rate in tension pneumoperitoneum with CO2 group (TPC) was 95.2 per cent and abdominal wall lifting group (AWL) was 66.7 percent (p=0.001). 2. Operative time in TPC and AWL group was 64.6±24.1 and 104.0±32.2 minute, respectively, (p < 0.001) 3. Complication rate was equal in both groups (4.8 percent) 4. Cardiac arrhythmia occurred equally in both groups (9.6 percent) 5. There was no statistically significant difference in the pain score between the two groups. 6. Costs per successful case in TPC group were less than AWL group in both patient’s and provider’s perspective. Conclusion: Tension pneumoperitoneum technique gave better clinical benefits (success rate and operative time) than abdominal wall lifting technique in laparoscopic cholecystectomy. The adverse effects of tension pneumoperitoneum were not higher than the abdominal wall-lifting group.
dc.description.abstractalternative วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลการรักษาผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำดีโดยการผ่าตัดโดยวิธีส่องกล้องโดยอาศัยการยกหน้าท้องและวิธีอาศัยการใส่ก๊าซเข้าสู่ช่องท้อง ผลการรักษาที่เปรียบเทียบ คือ 1. อัตราความสำเร็จของการผ่าตัด 2. อัตราการเกิดปัญหาแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด, อุบัติ การความผิดปกติของการเต้นของหัวใจ 3. ความเจ็บปวดภายหลังการผ่าตัดบริเวณแผลผ่าตัด และบริเวณหัวไหล่ของผู้ป่วย 4. ค่าใช้จ่ายต่อการผ่าตัดสำเร็จในผู้ป่วยแต่ละรายทั้งในมุมมองของผู้ให้และผู้รับการรักษา รูปแบบการวิจัย การศึกษาแบบทดลอง โดยการแบ่งกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีสุ่ม Setting: การศึกษาในโรงพยาบาล มหาวิทยาลัย ผลการทดลอง ผู้ป่วยนิ่วในถุงน้ำดีที่เข้ารับการรักษาในหน่วยศัลยศาสตร์ทั่วไป โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ในช่วงระหว่างเดือน ธันวาคม 2540 ถึง กุมภาพันธ์ 2542 รวม 84 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มเท่า ๆกัน โดยการสุ่มแบบบล็อก กลุ่มควบคุม ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดโดยอาศัยการส่องกล้องโดยใส่ก๊าซคาร์บอน ไดออกไซด์เข้าสู่ช่องท้อง กลุ่มทดลองได้รับการผ่าตัดโดยการส่องกล้องโดยวิธียกผนังหน้าท้อง ทั้งสองกลุ่มได้รับการรักษาโดยแพทย์กลุ่มเดียวกัน ผลการรักษาพบว่า ลักษณะพื้นฐานของผู้ป่วยทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองไม่มีความแตกต่างกันทั้งอายุ เพศ โรคที่เป็นร่วม ประวัติการผ่าตัดช่องท้องมาก่อน และอาการที่นำผู้ป่วยมารับการรักษา 1. อัตราการผ่าตัดสำเร็จในกลุ่มควบคุม ได้ผลดีกว่าในกลุ่มทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (สำเร็จ 40/42 หรือร้อยละ 95.2เปรียบเทียบกับ 28/42 คนหรือร้อยละ 66.7, p=0.001 2. กลุ่มควบคุมใช้เวลาในการผ่าตัดสั้นกว่ากลุ่มทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (64.6 ± 24.1 เทียบกับ 104.0 ± 32.2นาที, p< 0.001) 3. มีอัตราโรคแทรกซ้อนและอัตราการเต้นผิดปกติของหัวใจ เท่ากันทั้ง 2 กลุ่ม 4. ความเจ็บปวดบริเวณแผลผ่าตัดและบริเวณหัวไหล่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 5. กลุ่มควบคุมเสียค่าใช้จ่ายต่อการผ่าตัดสำเร็จ 1 ครั้ง น้อยกว่ากลุ่มทดลองทั้งในมุมมองของผู้ป่วย และมุมมองของผู้ให้การบริการ สรุป การผ่าตัดถุงน้ำดีโดยวิธีส่องกล้องโดยใช้การใส่ลมเข้าสู่ช่องท้องให้อัตราการผ่าตัดสำเร็จสูงกว่า,ใช้เวลาในการผ่าตัดสั้นกว่าและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการผ่าตัดโดยใช้การยกผนังหน้าท้อง โดยพบอัตราการเกิดผลแทรกซ้อนและความเจ็บปวดไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.language.iso th
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject Abdominal wall
dc.subject Gallstones
dc.subject Endoscopic surgery
dc.subject Laparoscopic surgery
dc.subject นิ่วน้ำดี
dc.subject ศัลยกรรมส่องกล้อง
dc.subject ผนังท้อง
dc.title A randomized controlled trial of laparoscopic cholecystectomy using abdominal wall lifting technique or tension pneumoperitoneum in the treatment of gallstones
dc.title.alternative การศึกษาผลการผ่าตัดถุงน้ำดีโดยวิธีส่องกล้องโดยอาศัยการยกผนังหน้าท้องเทียบกับการผ่าตัดโดยอาศัยการใส่ลมเข้าสู่ช่องท้อง
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Health Development
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record