DSpace Repository

อำนาจการทดสอบของตัวสถิติทดสอบค่าเฉลี่ยเมื่อประชากรมีการแจกแจงแบบเบ้ขวา

Show simple item record

dc.contributor.advisor มานพ วราภักดิ์
dc.contributor.advisor สรชัย พิศาลบุตร
dc.contributor.author สุกัญญา หนูกล่ำ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
dc.date.accessioned 2020-10-15T06:31:35Z
dc.date.available 2020-10-15T06:31:35Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.isbn 9743340432
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68583
dc.description วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาเปรียบเทียบอำนาจการทดสอบของตัวสถิติทดสอบค่า เฉลี่ยของประชากรกลุ่มเดียวที่มีการแจกแจงแบบเบ้ขวา ตัวสถิติทดสอบได้แก่ ตัวสถิติทดสอบที ตัวสถิติ ทดสอบทีของจอห์นสัน และตัวสถิติทดสอบทีตัดแปลงของจอห์นสัน โดยจะศึกษาภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆ ตังนี้ กลุ่มตัวอย่างสุ่มมาจากประชากรที่มีการแจกแจงแลมดาของตูกีร์ ที่ระดับความเบ้ 5 ระดับ คือ 0.25, 0.50, 1.00, 1.50 และ 1.80 ระดับความโด่ง 6 ระดับ คือ 2.4, 4.0, 6.0, 8.0, 10.0 และ 12.0 ระดับค่าเฉลี่ยประชากร μ = μ0 + k(σ / √n ซึ่งกำหนด μ0 = 100 k มีค่าเท่ากับ 0.5 , 1.0 และ 2.0 ค่าความแปรปรวนประชากร σ2 = 100 ขนาดตัวอย่าง n มีค่าเท่ากับ 10, 20, 30, 50 และ 70 และ ณ ระดับนัยสำคัญ 0.01, 0.05 และ0.10 ในการวิจัยครั้งนี้ใช้เทคนิคการจำลองมอนติคาร์โล ซึ่งกระทำซ้ำ 1,000 ครั้งในแต่ละสถานการณ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ในทุกสถานการณ์ที่ทำการศึกษาทดลอง ตัวสถิติทดสอบทีดัดแปลงของจอห์นสันจะมีอำนาจการทดสอบสูงสุด 2. ในสถานการณ์ต่อไปนี้ อาจใช้ตัวสถิติทดสอบทีแทนตัวสถิติทดสอบทีตัดแปลงของจอห์นสัน ซึ่งในสถานการณ์เหล่านี้ ตัวสถิติทดสอบทีจะมีอำนาจการทดสอบใกล้เคียงกับอำนาจการทดสอบของตัวสถิติทดสอบทีดัดแปลงของจอห์นสัน - ขนาดตัวอย่างมีค่ามากกว่า 50 และ/หรือ - ค่าความเบ้มีค่าน้อยกว่า 0.50 และค่าความโด่งอยู่ในช่วง [ 2.4, 6.0 ]
dc.description.abstractalternative The purpose of this research is to compare the power of the tests of Student’s t test, Johnson’s t test, and Modified Johnson’s t test for testing the mean of a population having a positive skewed distribution. The distribution under study is Tukey’s Lamda distribution with five levels of skewness (0.25, 0.50, 1.00, 1.50, and 1.80), six levels of kurtosis (2.4, 4.0, 6.0, 8.0, 10.0, and 12.0), and population mean μ = μ0 + k(σ / √n, μ0 = 100 ,k = 0.5, 1.0, 2.0 σ2 = 100, and sample size n = 10, 20, 30, 50, 70. The levels of significance are 0.01, 0.05, and 0.10. In this research, the Monte Carlo Simulation Technique is used by repeating the experiment 1,000 times for each case. Results of the study are as follows: 1. For all cases, Modified Johnson’s t test is the most powerful test. 2. In the following cases, we may use Student’s t test instead of Modified Johnson’s t test which the power of the test of Student’s t test is nearly the same as the power of the test of Modified Johnson’s t test. - Sample size is more than 50 and/or - Skewness is less than 0.50 and kurtosis is in [ 2.4, 6.0].
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.1999.265
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject คณิตศาสตร์สถิติ en_US
dc.subject การทดสอบสมมติฐาน en_US
dc.subject การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์) en_US
dc.subject การแจกแจง (ทฤษฎีความน่าจะเป็น)
dc.subject Mathematical statistics
dc.subject Statistical hypothesis testing
dc.subject Error analysis (Mathematics)
dc.subject Distribution (Probability theory)
dc.title อำนาจการทดสอบของตัวสถิติทดสอบค่าเฉลี่ยเมื่อประชากรมีการแจกแจงแบบเบ้ขวา en_US
dc.title.alternative Power of the test for testing mean with positive skewed population en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name สถิติศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline สถิติ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Manop.V@Chula.ac.th
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.1999.265


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record