DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านมารดา และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม กับความผูกพันต่อทารกในครรภ์ของมารดานอกสมรส

Show simple item record

dc.contributor.advisor ประนอม โอทกานนท์
dc.contributor.advisor สุชาดา รัชชุกูล
dc.contributor.author วิวัน เข่งคุ้ม
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-10-27T03:57:33Z
dc.date.available 2020-10-27T03:57:33Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.isbn 9743333622
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68735
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านมารดา และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม กับความผูกพันต่อทารกในครรภ์ของมารดานอกสมรส กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดานอกสมรสครรภ์แรกปกติ ที่พักอาศัยในสถานพักพิงชั่วคราว จำนวน 89 คน เครื่องมือที่ใช้ไนการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดความผูกพันต่อทารกในครรภ์ แบบวัดอัดมโนทัศน์ แบบวัดความวิตกกังวล และแบบวัดความรู้สึกของมารดานอกสมรสต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาแล้ว และมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .96, .76, .74 และ .90 ตามลำดับ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความผูกพันต่อทารกในครรภ์ของมารดานอกสมรส โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. ปัจจัยด้านมารดา ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อัดมโนทัศน์มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่อทารกในครรภ์ของมารดานอกสมรส อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .1925, 1 = .2095 และ .4445 ตามลำดับ) ความวิตกกังวลมีความสัมพันธ์ทางลบกับความผูกพัน ต่อทารกในครรภ์ของมารดานอกสมรส อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = -.2349) ส่วนฐานะทางเศรษฐกิจไม่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อทารกในครรภ์ของมารดานอกสมรส 3. ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่อทารกในครรภ์ของมารดานอกสมรสอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .3706)
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study and to determine, the relationships between maternal factors, environmental factors with maternal - fetal attachment of unmarried mothers. The subjects consisted of 89 normal prim gravidas. The research instruments were 4 set of questionnaires developed by researcher and were tested for validity and reliability. By alpha Cronbach, the reliability were shown as .96, .76, .74 and .90 Major findings were as follows: 1. The mean score of maternal-fetal attachment of unmarried mothers was at high level. 2. There were positively significant relationships between age, educational background, self-concept and maternal-fetal attachment of unmarried mothers at the .05 level (r = .1925, .2095 and .4445). There was negatively significant relationships between anxiety and maternal-fetal attachment of unmarried mothers at the .05 level (r = -.2349). By using chi-squares, there was no relationships between income and maternal-fetal attachment of unmarried mothers. 3. There was positively significant relationships between environmental factors and maternal-fetal attachment of unmarried mothers at the .05 level, (r = .3706)
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject มารดานอกสมรส en_US
dc.subject ครรภ์ en_US
dc.subject มารดาและทารก en_US
dc.subject ความผูกพัน en_US
dc.subject Unmarried mothers
dc.subject Pregnancy
dc.subject Mother and infant
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านมารดา และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม กับความผูกพันต่อทารกในครรภ์ของมารดานอกสมรส en_US
dc.title.alternative Relationships between maternal-factors and environmental factors with maternal-fetal attachment of unmarried mothers en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การบริหารการพยาบาล en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.email.advisor Suchada.Ra@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record