dc.contributor.advisor |
Siraporn Nathalang |
|
dc.contributor.author |
Thurston, Madeleine A |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Arts |
|
dc.coverage.spatial |
Thailand |
|
dc.date.accessioned |
2020-10-28T06:59:43Z |
|
dc.date.available |
2020-10-28T06:59:43Z |
|
dc.date.issued |
2003 |
|
dc.identifier.isbn |
9741734948 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68827 |
|
dc.description |
Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2003 |
|
dc.description.abstract |
This is a study of traditional healing practice and ethnic identity among the malay-speaking Thai Muslims in the Pattani area of Southern Thailand. Healing practice is described and located within both the broader historical and cultural development of the Malay Peninsula, and within a more detailed, contemporary, analysis of content. Data for this study was obtained both through archival research and thorugh participont-observation and in-depth interviews with a broad range of healers, loosely grouped under the terms spirit healers, bonesetters, and herbalists, all living within a 20-km radius of the city of Pattani. The study demonstrates that traditional healing practice is an adaptive process that reflects, acculturates and accommodates sociocultural change. The role of traditional healing practice is described through history with particaular reference to the colonial era and the current day situation. The contemporary content of healing practice is analysed using the author's observation of four major aspects of practice termed Ancestral Voices, Ancient Knowledge, Modern Means and Religious Guidance. These terms are used to demonstrate the co-existence of what are, at times, quite disparate facets of practice. As a result, healing practice is found to possess both lateral and plural tendencies that enable it to flexibly adapt to and absorb sociocultural change. In the process of accommodating both new influences and established practices, the healer is acting as a cultural conservative. Ethnic identity is presented within a neo-Marxist paradigm of ethnicity. Ethnicity is considered within the dialectic of asymmetrical power relations which in this instance illustrates the formation of the Thai nation-state. Ethnic identity is observed as 'oscillating' situationally, thus presenting a circumstantialist position. Thus the adaptability of the plural aspects of healing practice reflect the variable aspects that enable the oscillation of ethnic identity. In the role of cultural coltural conservative, the traditional healer of this ethnic minority group is promoting cultural preservation as a means to self preservation. Thus in the dynamic process of adaptive healling practice ethnic identity is promoted and sustained. |
|
dc.description.abstractalternative |
วิทยานิพนธ์เล่มนี้ศึกษาการรักษาโรคแบบดั้งเดิมกับอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ของคนไทยมุสลิมที่พูดภาษามาเลย์ในจังหวัดปัตตานี ผู้วิจัยได้ศึกษาโรคแบบดั้งเดิมทั้งในบริบททางประวัติศาสตร์ในอดีตและบริบททางสังคมในปัจจุบัน ข้อมูลในการวิจัยได้จากทั้งข้อมูลเอกสารและข้อมูลภาคสนามจากการสังเกตอย่างมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์หมอพื้นบ้านชาวไทยมุสลิมแบบเจาะลึก ทั้งหมอที่ปรึกษาโรคโดยการเข้าทรง หมอที่รักษากระดูกและหมอที่รักษาโดยใช้สมุนไพร หมอพื้นบ้านชาวไทยมุสลิมเหล่านี้อาศัอยู่ประมาณ 20 กิโลเมตรจากตัวเมืองปัตตานี ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า การรักษาโรคแบบดั้งเดิมเป็นกระบวนการที่ปรับเปลี่ยนไปตามความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ผู้วิจัยได้ศึกษาบทบาทของการรักษาโรคแบบดั้งเดิมในอดีต โดยเฉพาะในสมัยอาณานิคมและในปัจจุบัน ในการวิเคราะห์วิธีการรักษาโรคของหมอพื้นบ้านชาวไทยมุสลิมในปัจจุบัน ผู้วิจัยได้สังเกตวิธีในการรักษา 4 วิธี คือ วิธีที่ใช้การเข้าทรงผีบรรพบุรุพเพื่อสาเหตุของโรคและวิธีการรักษา วิธีทีทใช้ความรู้พื้นบ้านเรื่องธาตุ 4 และสมุนไพร วิธีที่ใช้ถ้อยคำในคัมภีร์กุรอานเพื่อสร้างความศักดิ์สิทธิ์และอนาจในการรักษาโรค และวิธีปรับความรู้การแพทย์สมัยใหม่แบบตะวันตกเข้ามาผสมผสานกับการรักษาแบบดั้งเดิม ซึ่งหมอพื้นบ้านหลายคนก็ใช้หลายวิธีผสมกัน ดังนั้นการรักษาโรคของหมดพื้นบ้านชาวไทยมุสลิมในปัจจุบันจึงสะท้อนแนวโน้มการปรับตัวของหมอพื้นบ้านที่พยายามรักษาวิธีการรักษาแบบดั้งเดิมและในขณะเดียวกันก็ยอมรับวิธีการรักษาแบบการแพทย์สมัยใหม่เข้ามาด้วย การศึกษาอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ในวิทยานิพนธ์เล่มนี้ใช้กรอบความคิดแบบนีโอ-มาร์กซิสต์ซึ่งมองว่าชาติพันธุ์เป็นเรื่องของความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่ไม่เท่าเทียมกันระหว่างรัฐกับชาติพันธุ์กลุ่มน้อยในประเทศอันเป็นผลจากการสถาปนาเป็นรัฐชาติ วิธีการรักษาโรคของหมอพื้นบ้านชาวไทยมุสลิมในปัจจุบันสะท้อนให้เห็นว่าอัตลักษณ์ชาติพันธุ์สามารถปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์และตามความเปลี่ยนแปลงทางสังคมได้ ในแง่ของบทบาทในการรักษาวัฒนธรรม วิทยานิพนธ์เล่มนี้ได้แสดงให้เห็นว่าการที่หมอพื้นบ้านชาวไทยมุสลิมได้พยายามปรับเปลี่ยนบทบาทของตัวเองให้ดำรงอยู่ได้ก็จะทำให้อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ในความเป็นมุสลิมที่แสดงออกด้วยการรักษาโรคแบบดั้งเดิมยังคงอยู่ไปได้เช่นกัน ดังนั้นกระบวนการปรับตัวอย่างมีพลวัตของวิธีการรักษาโรคของหมอพื้นบ้านชาวไทยมุสลิมจึงมีส่วนในการช่วยดำรงรักษาอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ของชาวไทยมุสลิมด้วย |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject |
Therapeutics |
|
dc.subject |
Traditional medicine |
|
dc.subject |
Herbs -- Therapeutic use |
|
dc.subject |
Muslims -- Southern Thailand |
|
dc.subject |
การรักษาโรค |
|
dc.subject |
การรักษาด้วยสมุนไพร |
|
dc.subject |
มุสลิม -- ไทย (ภาคใต้) |
|
dc.subject |
แพทย์แผนโบราณ |
|
dc.title |
Traditional healing practice and ethnic identity among Malay muslims in Southern Thailand |
|
dc.title.alternative |
การรักษาโรคแบบดั้งเดิมและเอกลักษณ์ของชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมาเลย์ในภาคใต้ของประเทศไทย |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Arts |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Thai Studies |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|