DSpace Repository

Role of education on income inequality in Thailand

Show simple item record

dc.contributor.advisor Paitoon Kaipornsak
dc.contributor.author Orathai Sujitprapakorn
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Economics
dc.date.accessioned 2020-11-11T06:33:55Z
dc.date.available 2020-11-11T06:33:55Z
dc.date.issued 2004
dc.identifier.isbn 9741771118
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69339
dc.description Thesis (M.Econ.)--Chulalongkorn University, 2004 en_US
dc.description.abstract The objective of this research is to study the role of educational attainment, educational inequality, and quality of education on income inequality. The hypothesis is the higher educational level and quality of education, the lower income inequality, and the more dispersion of education, the higher inequality of income. This research used ordinary least square technique with cross sectional data of 76 provinces in Thailand, and pooled least square technique with a panel data set of thirteen educational service areas for four periods, 1996, 1998, 2000, and 2002. The regression results showed that educational factors play roles on income distribution. The higher educational attainment leads to the more inequality of income because an increase in educational attainment is an increase in higher educational level and most people who can access to higher education come from high income family. Thus, higher educational attainment widens income gaps between the rich and the poor during the period of study. The results also presented that the higher quality of education measured by higher expenditure on education could reduce inequality of income by raising marginal productivity and wages of low educated workers. However, educational inequality is insignificant. Moreover, this research also tested Kuznets hypothesis, but this data set cannot confirm the statistically significant relation between economic development and income inequality.
dc.description.abstractalternative การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของระดับการศึกษา ความไม่เท่าเทียมกันทางการศึกษาและคุณภาพของการศึกษาที่มีต่อความไม่เทียมกันของรายได้ โดยมีสมมติฐานว่าระดับการศึกษาและคุณภาพการศึกษาที่สูงขึ้นจะทำให้ความแตกต่างของรายได้ลดลง แต่หากการศึกษามีความไม่เท่าเทียมกันมากขึ้นการกระจายรายได้ก็จะยิ่งไม่เป็นธรรม งานวิจัยฉบับนี้ใช้วิธี ordinary least square กับข้อมูลประเทศไทยรายจังหวัด และวิธี pooled least square กับชุดข้อมูล panel data ตามเขตพื้นที่การศึกษาสิบสามเขต1ในสี่ปีคือ 2539, 2541,2543และ 2545 ผลการวิจัยพบว่าการศึกษามีบทบาทสำคัญต่อการกระจายรายได้ ระดับการศึกษาที่เพิ่มสูงขึ้นมีผลทำให้รายได้มีความไม่เท่าเทียมกันมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องมาจากการยกระดับการศึกษาให้สูงขึ้นเป็นการขยายการศึกษาไปสู่ระดับอุดมศึกษา แต่กลุ่มคนที่เข้าถึงการศึกษาในระดับนี้ได้นั้นส่วนใหญ่เป้นกลุ่มคนที่มีรายได้ในระดับสูง ดังนั้น การขยายการศึกษาจึงเป็นการทำให้รายได้ของคนรวยและคนจนมีความแตกต่างกันมากยิ่งขึ้นตลอดช่วงของการศึกษา ผลการวิจัยยังชี้ให้เห็นว่าคุณภาพการศึกษาที่เพิ่มขึ้นซึ่งวัดโดยรายจ่ายเพื่อการศึกษาที่สูงขึ้นนั้นช่วยลดความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ลงได้ เนื่องจากคุณภาพการศึกษาที่ดีขึ้นจะช่วยยกระดับประสิทธิภาพรวมถึงค่าจ้างของแรงงานที่มีระดับการศึกษาต่ำให้เพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม ความไม่เท่าเทียมกันของการศึกษากลับไม่มีนัยสำคัญต่อความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ นอกจากนี้ งานวิจัยฉบับนี้ยังได้ทำการทดสอบสมมติฐานของ Kuznets แต่ตามข้อมูลที่ศึกษานี้ยังไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจและความไม่เทียมกันของรายได้
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.1489
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Income distribution -- Thailand en_US
dc.subject Education -- Thailand en_US
dc.subject การกระจายรายได้ -- ไทย en_US
dc.subject การศึกษา -- ไทย en_US
dc.title Role of education on income inequality in Thailand en_US
dc.title.alternative บทบาทของการศึกษาต่อความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ในประเทศไทย en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Economics en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Economics en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor No information provided
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2004.1489


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record