DSpace Repository

สัมพันธภาพในการดูแลผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อม ในบริบทการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมไทยในเขตเมือง

Show simple item record

dc.contributor.advisor ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์
dc.contributor.author ปิยาภรณ์ จันทร์โพธิ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-11-11T07:53:36Z
dc.date.available 2020-11-11T07:53:36Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.isbn 9741769741
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69347
dc.description วิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อวิเคราะห์ถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีผลต่อสังคม ได้แก่ ครอบครัว สภาวะสุขภาพ และสัมพันธภาพที่เกิดขึ้นระหว่างผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อม ครอบครัวของผู้ป่วยและผู้ดูแลผู้ป่วย การรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการสังเกตอย่างมีส่วนร่วมและใช้เทคนิคการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่าครอบครัวเป็นหน่วยแรกและเป็นหน่วยที่ได้รับผลกระทบที่สำคัญที่สุดขนาดและองค์ประกอบของครอบครัวไทยในสังคมปัจจุบันได้ถูกทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากจากระบบทุนนิยม การเพิ่มจำนวนของครอบครัวเดี่ยวจึงกลายเป็นรูปแบบหลักของโครงสร้างครอบครัวไทยในปัจจุบัน นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างรวดเร็วยังก่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เต็มไปด้วยความเครียดซึ่งเป็นที่มาของอาการต่าง ๆ มากมายรวมทั้งภาวะ สมองเสื่อมด้วย ในปัจจุบันขอบเขตของการดูแลผู้ป่วยได้ขยายวงกว้างจากการดูแลของสมาชิกในครอบครัวไปสู่การว่าจ้างผู้ที่มีความชำนาญพิเศษและผู้ที่ได้รับการฝึกอบรมมาเป็นอย่างดี ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้ช่วยทำให้เกิดความเข้าใจถึง “ภาวะสุขภาพ” ในทุมมองทางสังคมวิทยาโดยเชื่อมโยงกับผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมนอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นถึงข้อจำกัดและรูปแบบการดูแลที่มีความเหมาะสมกับผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อม
dc.description.abstractalternative This research takes a qualitative methodology to analyse potential effects of social and cultural changes on the family, health status and interpersonal relationships among people who suffer from demeatia, their family and their caregivers. Data are collected mainly by using participant observation, and interview techniques. Findings reveal that the family is the first and the most severely effected unit hit by social and cultural changes. Pervasive global capitalism has altered the size and composition of contemporary Thai family considerably. Nuclear family is now the dominant pattern of Thai family structure, it is also found that the boundary of caregiving is extended beyond the family to a highly professional caregiver. This research helps US understand “health” from a sociological perspective. With reference to dementia patients, it suggests limitations in caregiving and proper care models for dementia patients.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ผู้ป่วย -- การดูแล en_US
dc.subject ภาวะสมองเสื่อม en_US
dc.subject ผู้สูงอายุ en_US
dc.subject Care of the sick en_US
dc.subject Dementia en_US
dc.subject Older people en_US
dc.title สัมพันธภาพในการดูแลผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อม ในบริบทการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมไทยในเขตเมือง en_US
dc.title.alternative Interpersonal relationships in the caregiving of dementia patients in the changing Thai socio-cultural context in urban areas en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name สังคมวิทยามหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline สังคมวิทยา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Pavika.P@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record