dc.contributor.advisor |
พรรณระพี สุทธิวรรณ |
|
dc.contributor.advisor |
สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต |
|
dc.contributor.author |
พนิดา จุลมณฑล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2020-11-11T11:48:12Z |
|
dc.date.available |
2020-11-11T11:48:12Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69653 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันกับสัตว์เลี้ยงและความเหงาในวัยรุ่น โดยมีการสนับสนุนทางสังคมด้านอารมณ์จากครอบครัว จากเพื่อนในกลุ่มคนเลี้ยงสัตว์ และจากสัตว์เลี้ยงเป็นตัวแปรส่งผ่าน กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นที่มีอายุระหว่าง 14- 19 ปี (M = 16.9 ปี, SD = 1.54) ที่มีสัตว์เลี้ยงไม่ต่ำกว่า 6 เดือน อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 140 คน ใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก (Convenience sampling) เก็บข้อมูลผ่านแบบสอบถามออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย (Simple regression analysis) และวิเคราะห์การทดสอบตัวแปรส่งผ่าน (Mediation Analysis) โดยใช้โปรแกรม Process
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความผูกพันกับสัตว์เลี้ยงมีความสัมพันธ์ทางลบกับความเหงา ในวัยรุ่น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ꞵ = -.182, p = .032) โดยความผูกพันกับสัตว์เลี้ยงสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเหงาได้ร้อยละ 3.3
2. การสนับสนุนด้านอารมณ์จากครอบครัว จากเพื่อนในกลุ่มคนเลี้ยงสัตว์ และจากสัตว์เลี้ยงไม่เป็นตัวแปรส่งผ่านของความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันกับสัตว์เลี้ยงกับความเหงาในวัยรุ่น |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research study were to examine the mediational roles of different sources of emotional support on the relationship between pet attachment and loneliness among adolescents. Participants were 140 adolescents aged 14-19 years old (M = 16.9 years, SD = 1.54) and had a pet for at least 6 months living in Bangkok and vicinity. The data were collected by online questionnaires, using a convenience sampling technique.
The results analyzed by Simple regression analysis and Mediation Analysis were as follows:
1. Pet attachment was a significant predictor of loneliness, at (ꞵ = .182,
p = .032) and accounted for 3.3% of the loneliness variance.
2. Emotional support from family, pet community, and pet could not mediate the relationship between pet attachment and loneliness. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.768 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject.classification |
Psychology |
|
dc.title |
ความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันกับสัตว์เลี้ยงและความเหงาในวัยรุ่นโดยมีการสนับสนุนทางสังคมด้านอารมณ์เป็นตัวแปรส่งผ่าน |
|
dc.title.alternative |
The Relationship between Pet Attachment and Loneliness among adolescents:The Mediating Role of Emotional support |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
จิตวิทยา |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject.keyword |
ความผูกพันกับสัตว์เลี้ยง |
|
dc.subject.keyword |
ความเหงา |
|
dc.subject.keyword |
การสนับสนุนทางสังคมด้านอารมณ์ |
|
dc.subject.keyword |
วัยรุ่น |
|
dc.subject.keyword |
Pet Attachment |
|
dc.subject.keyword |
Loneliness |
|
dc.subject.keyword |
Emotional support |
|
dc.subject.keyword |
adolescent |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2019.768 |
|