DSpace Repository

Coating of glass fiber to improve adhesion in glass fiber reinforced polyethylene

Show simple item record

dc.contributor.advisor Nantaya Yanumet
dc.contributor.advisor Ellis, John W
dc.contributor.advisor Grady, Brian P
dc.contributor.advisor O'Rear, Edgar A
dc.contributor.author Bongkot Sitthitham
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2020-11-12T07:08:10Z
dc.date.available 2020-11-12T07:08:10Z
dc.date.issued 2002
dc.identifier.isbn 9740315992
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70711
dc.description Thesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2002 en_US
dc.description.abstract A new process for coating reinforcing fibers in thermoplastic polymer composites to improve polymer/filler adhesion was evaluated. This process, termed admicellar polymerization, produced organized thin polyethylene films on glass fiber surfaces using sodium dodecyl sulfate as the surfactant template. It appeared that polymerization was not restricted to the surface of the glass fiber, as originally envisaged, but a significant amount of polymerization also took place in the aqueous supernatant. Polyethylene film coated on the glass fiber surface was observed by SEM. The treated glass fiber was used to make glass fiber/polyethylene composites. The mechanical properties of composites made from admicellar-treated glass fibers, but were superior to those made from as-received and untreated glass fibers. This study therefore demonstrates that both the admicellar and solution polymerization techniques for coating glass fibers with polymer improve the fiber-matrix adhesion in thermoplastic composites. composites. en_US
dc.description.abstractalternative ในปัจจุบันได้มีกาานำเอาวิธีการใหม่ที่ใช้สำหรับเคลือบผิวเส้นใยแก้วก่อนที่จะนำไปเสริมแรงกับพอลิเทอธิลีนในวัสดุเชิงประกอบมาใช้กันอย่างแพร่หลาย เพื่อที่จะปรับปรุงแรงยึดติดของเส้นใยแก้วกับพอลิเอทธิลีน วิธีใหม่นี้เป็นวิธีที่เคลือบผิวเส้นใยแก้วด้วยพอลิเอทธิลีนฟิล์มซึ่งเป็นการทำพอลิเมอร์ไรเชซั่นในชั้นของสารลดแรงตึงผิว เรียกกว่า แอดไมเซลาร์พอลิเมอร์ไรเซชั่น งานวิจัยนี้ได้นำเทคนิคแอดไมเซลาร์พอลิเมอร์ไรเซชั่นมาใช้ในการเคลือบผิวเส้นใยแก้ด้วยพอลิเอทธิลีนฟิล์ม โดยการทำปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชั่นของเอทธิลีนมอนอเมอร์ในชั้นของเอทธิลีนมอนอเมอร์ในชั้นของสารลดแรงตึงผิวโซเดียมโดเดคซิลซัลเฟต จากการศึกษาพบว่า ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชั่นสามารถเกิดได้ทั้งในชั้นของสารลพแรงตึงผิวและในชั้นของสารละลายน้ำ เรียกวิธีเอทธิลีนมอนอเมอร์เกิดการพอลิเมอร์ไรซ์ในน้ำว่า โซลูชั่นพอลิเมอร์ไรเซชั่น หลังจากนั้นกล้องสแกนนิ่งอิเล็กตรอนไมโครสโครปจะถูกใช้ในการศึกษาการเคลือบของพอลิเอทธิลีนบนพื้นผิวเส้นใยแก้ว เส้นใยที่เคลือบผิวด้วยเทคนิคแอดไมเซลลาร์แล้วจะถูกนำไปเสริมแรงพอลิเอทธิลีน และนำไปศึกษาสมบัติเชิงกลของวัสดุเชิงประกอบ จากการศึกษาพบว่า วัสดุเชิงประกอบนี้มีค่าความทนต่อแรงดึงและค่าความทนต่อแรงหักงอเท่ากับวัสดุเชิงประกอบที่ทำจากเส้นใยแก้วที่ผ่านการเคลือบผิวที่เกิดจากการพอลิเมอร์ไรซ์เอทธิลีนมอนอเมอร์ในสารละลายน้ำ แต่มีค่าสูงกว่าวัสดุเชิงประกอบที่ทำจากเส้นใยแก้วที่ไม่มีการเคลือบผิวและเส้นใยแก้วที่ผ่านการเคลือบผิวด้วยสารที่ใช้กันอยู่ในอุตสาหกรรม ดังนั้นจากงาานวิจัยนี้พบว่าการเคลือบพื้นผิวเส้นใยด้วยวิธีแอดไมเซลลาร์พอลิเมอร์ไรเซชั่นและโซลูชั่นพอลิเมอร์ไรเซชั่นสามารถปรับปรุงแรงยึดติดของเส้นใยแก้วกับพอลิเอทธิลีนในวัสดุเชิงประกอบ en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Glass fibers
dc.subject Polyethylene
dc.subject ใยแก้ว
dc.subject โพลิเอทิลีน
dc.title Coating of glass fiber to improve adhesion in glass fiber reinforced polyethylene en_US
dc.title.alternative การเลือกผิวเส้นใยแก้วเพื่อที่จะปับปรุงแรงยึดติดของเส้นใยแก้วเสริมแรงพอลิเอทธิลีน en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Polymer Science en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor No information provided
dc.email.advisor No information provided
dc.email.advisor No information provided
dc.email.advisor No information provided


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record