dc.contributor.advisor |
Pramoch Rangsunvigit |
|
dc.contributor.advisor |
Pomthong Malakul |
|
dc.contributor.advisor |
Santi Kulprathipanja |
|
dc.contributor.author |
Rattiya Suntornpun |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
|
dc.date.accessioned |
2020-11-23T06:34:28Z |
|
dc.date.available |
2020-11-23T06:34:28Z |
|
dc.date.issued |
2002 |
|
dc.identifier.isbn |
9740315674 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70888 |
|
dc.description |
Thesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2002 |
en_US |
dc.description.abstract |
In this work, C8 aromatics adsorption in liquid phase on X and Y zeolites was investigated. To study effects of acid-base interaction between the aromatics and the zeolites, a series of both zeolites with differenct exchanged cations, Cs, Rb, K, Na and Li, was used as adsorbents p-Xylene, having the weakest basicity of the aromatics, was expected to have increased selectivity with decreasing zeolite acidity. However, the results showed that the acid-base interaction could not b used to explain the adsorption behavior for all cations studied. The effects of cation size and zeolite type must also be taken into account. Here, KY had high p-xylene selectivity, which could be obtained from either the dynamic adsorption or equilibrium adsorption experiments. Moreover, p-xylene selectivity as hardly changed by the components' concentrations in the feed. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
งานวิจัยนี้ศึกษาถึงการดูดซับของสารอะโรมาติกคาร์บอน 8 อะตอมในสถานะของเหลวบนซีโอไลท์เอ็กซ์และวายโดยเน้นในเรื่องอันตรกิริยากรด-เบส ตัวดูดซับที่ใช้คือซีโอไลท์เอ็กซ์และวายซึ่งผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนกับโลหะประจุบวกหมู่หนึ่งได้แก่ ซีเซียม, รูบีเดียม, โพแทสเซียม, โซเดียม และ ลิเธียม ตามทฤษฎีคาดว่าค่าซีเล็กติวิตี้ของพาราไซลีนซึ่งเป็นสารประกอบที่มีความเป็นด่างอ่อนที่สุดจะเพิ่มขึ้นเมื่อค่าความเป็นกรดของซีโอไลท์ที่เป็ฯตัวดูดซับลดลง อย่างไรก็ตามผลการทดลองพบว่าอันตรกิริยากรด-เบสเพียงอย่างเดียวไม่สามารถอธิบายพฤติกรรมการดูดซับของสารประกอบอะโรมาติกคาร์บอน 8 อะตอมบนซีโอไลท์ทั้งหมดที่ศึกษาได้ จำเป็นจะต้องคำนึงถึงผลกระทบจากขนาดของโลหะประจุบวกและชนิดของซีโอไลท์ด้วย งานวิจัยพบว่าโพแทสเซียมวายให้ค่าซีเล็กติวิตี้ของพาราไซลีสูงทีสุด นอกจากนี้จากนี้จากการทดลองการดูดซับทั้งแบบพลศาสตร์และแบบสมดุลย์ซึ่งให้ผลใกล้เคียงกันพบว่าค่าซีเล็กติวิตี้ของพาราไซลีนไม่ขึ้นอยู่กับค่าความเข้มข้นของสารประกอบในสารละลายตั้งต้น |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Aromatic hydrocarbons |
|
dc.subject |
Zeolites |
|
dc.subject |
อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน |
|
dc.subject |
ซีโอไลต์ |
|
dc.title |
Acid-base interaction between C8 aromatics and X and Y zeolites |
en_US |
dc.title.alternative |
อันตรกิริยากรด-ด่างระหว่างสารอะโรมาติกคาร์บอน 8 อะตอม และ ซีโอไลท์เอ็กซ์และวาย |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Science |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
Petrochemical Technology |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
Pramoch.R@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Pomthong.M@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
No information provided |
|