dc.contributor.advisor |
Ratana Rujiravanit |
|
dc.contributor.advisor |
Manit Nithitanakul |
|
dc.contributor.advisor |
Tokura, Seiichi |
|
dc.contributor.author |
Wimol Wongsin |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
|
dc.date.accessioned |
2020-12-02T06:19:37Z |
|
dc.date.available |
2020-12-02T06:19:37Z |
|
dc.date.issued |
2002 |
|
dc.identifier.issn |
9740316034 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71193 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2002 |
|
dc.description.abstract |
Hexanoyl chitosan (H-chitosan) was prepared and blended with polycaprolactone (PCL) at various blend compositions. Films of the blends were prepared by solution casting technique using chloroform as a solvent. Permeability studies of the films showed that the oxygen barrier property of PCL films increased by blending with H-chitosan. Results from mechanical tests performed on the films showed that H-chitosan could be blended with up to 30% PCL with only a slight decrease in tensile strength compared with pure H-chitosan. Small particle size and good dispersion of PCL in the H-chitosan matrix were observed from scanning electron micrographs. On the other hand, the elongation at break of PCL films increased with lowering H-chitosan content. The thermal properties and crystalline structure of PCL were not altered by blending with H-chitosan. Interactions between H-chitosan and PCL in the blend films could not be detected by FT-IR and therefore are presumed to be quite weak. |
|
dc.description.abstractalternative |
เฮกซะโนอิลไคโตแซนได้ถูกสังเคราะห์ขึ้นและนำมาผสมกับพอลิคาร์โพรแลคโตนในอัตราส่วนที่ต่างกัน เพื่อเตรียมฟิล์มของสารพอลิเมอร์ผสม โดยทำการละลายเฮกซะโนอิลไคโตแซนและพอลิคาร์โพรแลคโตนในตัวทำละลายระบบเดียวกันคือ คลอโรฟอร์ม จากผลการวิเคราะห์สมบัติการซึมผ่านของก๊าซออกซิเจนของแผ่นฟล์มของพอลิเมอร์ผสมพบว่า สมบัติการสกัดกั้นการซึมผ่านของก๊าซออกซิเจนของพอลิคาร์โพรแลคโตนฟิล์มเพิ่มขึ้นเมื่อผสมกับเฮกซะโนอิลไคโตแซน จากผลของการวิเคราะห์สมบัติเชิงกลของฟิล์มพบว่า พอลิคาร์โพรแลคโตนสามารถผสมกับเฮกซะโนอิลไคโตแซนในอัตราส่วน 30 ต่อ 70 โดยที่สมบัติการทนแรงดึงของฟิล์มสารพอลิเมอร์ผสมลดลงเพียงเล็กน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับฟิล์มของเฮกซะโนอิลไคโตแซนเพียงอย่างเดียว ภาพจากกล้องสแกนนิ่งอิเล็กตรอนไมโครสโคปพบว่า ขนาดอนุภาคของพอลิคาร์โพรแลคโตนมีขนาดเล็กและมีกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอในเมตริตซ์ของเฮกซะโนอิลไคโตแซน นอกจากนี้ ค่าอัตราการเปลี่ยนแปลงความยาวต่อความยาวเดิมที่จุดขาดของฟิล์มพอลิคาร์โพรแลคโตนเพิ่มขึ้นเมื่อผสมกับเฮกะซะโนอิลไคโตแซนในปริมาณเล็กน้อย สมบัติทางความร้อนและโครงสร้างผลึกของพอลิคาร์โพแลคโตนไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อผสมกับเฮกซะโนอิลไคโตแซน พันธะที่เกิดขึ้นระหว่างเฮกซะโนอิลไคโตแซนกับพอลิคาร์โพรแลคโตนอาจเป็นพันธะที่อ่อน ดังนั้นจึงไม่สามารถตรวจพบได้ด้วยเครื่องฟูเรียทรานส์ฟอร์มสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.title |
Preparation and characterization of hexanoyl chitosan/polycaprolactone blend films |
|
dc.title.alternative |
การเตรียมและวิเคราะห์สมบัติของฟิล์มที่ได้จากพอลิเมอร์ผสมระหว่างเฮกซะโนอิลไคแซนและพอลิคาร์โพรแลคโตน |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Polymer Science |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|