DSpace Repository

Preparation and characterization of chitosan-coated calcium alginate film

Show simple item record

dc.contributor.advisor Ratana Rujiravanit
dc.contributor.advisor Jamieson, Alexander M
dc.contributor.author Jeerada Mahutthon
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2020-12-03T07:56:44Z
dc.date.available 2020-12-03T07:56:44Z
dc.date.issued 2003
dc.identifier.issn 9741723202
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71222
dc.description Thesis (M.S.)--Chulalongkorn university, 2003
dc.description.abstract The effects of cross-linking with calcium ion and chitosan coating on mechanical properties, swelling behavior and drug release characteristics of alginate films were studied. FTIR spectra of chitosan-coated calcium alginate films showed the characteristic peaks of chitosan indicating that chitosan was successfully coated on calcium alginate film. The chitosan coating on calcium alginate film was also confirmed by ninhydrin staining. Chitosan-coated calcium alginate films showed better tensile strength and Young's modulus than alginate and noncoated calsium alginate films due to the electrostatic interaction at the interface between alginate and chitosan. Both noncated calcium alginate and chitosan-coated calcium alginate films possessed pH-sensitive swelling characteristics and chitosan-coated clacium alginate films showed higher degrees of swelling then thd noncoated films. Drug release studies of the films were carried out at 37 C at simulated physiological pHs, i.e. pH 2, pH 5.5 and pH 7.2, using salicylic acid and theophylline as model drugs. The amounts of model drugs released from chitosan-coated calcium alginate films were lower than from the noncoated films and drug release at pH 5.5 gave higher equilibrium drug releasing amounts than at pH 2.0 for both model drugs.
dc.description.abstractalternative งานวิจัยนี้ศึกษาผลของการเชื่อมโยงให้เกิดโครงร่างตาข่ายด้วยอิออนของแคลเซียมและการเคลือบผิวด้วยไคโตซานต่อคุณสมบัติเชิงกล พฤติกรรมการบวมตัวและลักษณะการปลดปล่อยตัวยาของแผ่นฟิล์มแอลจิเนต ผลการวิเคราะห์สเปกตรัมของรังสีอินฟราเรด (FTIR) และการทดสอบด้วยสารละลายนินไฮดริน พบว่าไคโตซานได้ถูกเคลือบบนแผ่นฟิล์มแคลเซียมแอลจิเนตจากการศึกษาคุณสมบัติเชิงกลพบว่าแผนฟิล์มที่ได้จากการเคลือบไคโตซานบนแผ่นฟิล์มแคลเซียมแอลจิเนตมีความทนทานต่อแรงดึงและค่ายังโมดูลัสดีกว่าแผนฟิล์มที่ไม่ได้เคลือบไคโตซาน เนื่องจากมีแรงดึงดูดทางไฟฟ้าสถิตเกิดขึ้นระหว่างพื้นผิวของแอลจิเนตและไคโตซาน จากการศึกษาพฤติกรรมการบวมตัวพบว่า แผ่นฟิล์มแคลเซียมแอลจิเนตและฟิล์มทีได้จากการเคลือบไคโตซานบนแคลเซียมแอลจิเนตมีลักษณะการบวมตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของความเป็นกรด-ด่างและแผ่นฟิล์มที่ได้จากการเคลือบไคโตซานบนแผ่นฟิล์มแคลเซียมแอลจิเนตมีค่าการบวมตัวสูงกว่าแผ่นฟิล์มที่ไม่ได้เคลือบไคโตซาน ในการศึกษาการปลดปล่อยตัวยาจากแผ่นฟิล์มทำที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสในสารละลายบัฟเฟอร์ที่มีความเป็นกรด-ด่างเท่ากับ 25.5 และ 7.2 ในการศึกษานี้ใช้กรดซาลิไซลิกและทีโอฟิลีนเป็นยาต้นแบบ จากการศึกษาพบว่าการปลดปล่อยตัวยาจากแผ่นฟิล์มที่ได้จากการเคลือบไคโตซานบนแผ่นฟิล์มแคลเซียมแอลจิเนตมีค่าการปลอดปล่อยตัวยาน้อยกว่าแผ่นฟิล์มที่ไม่ได้เคลือบ นอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบค่าการปลดปล่อยตัวยาที่ทำในสารละลายบัฟเฟอร์ที่มีความเป็นกรด-ด่างเท่ากับ 5.5 มีค่าการปลดปล่อยตัวยาสูงกว่าในสารละลายบัฟเฟอร์ที่มีความเป็นกรด-ด่างเท่ากับ 2
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title Preparation and characterization of chitosan-coated calcium alginate film
dc.title.alternative การเตรียมและการศึกษาคุณสมบัติของแผ่นฟิล์มแคลเซียมแอลจิเนตที่เคลือบผิวด้วยไคโตซาน
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Polymer Science
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record