DSpace Repository

Photocatalytic degradation of 4-chlorophenol by Au/sol-gel TiO2, Au-Ag/sol-gel TiO2 and immobilized TiO2

Show simple item record

dc.contributor.advisor Sumaeth Chavadej
dc.contributor.advisor Pramoch Rangsunvigit
dc.contributor.advisor Gulari, Erdogan
dc.contributor.author Piriyaporn Wongwisate
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2020-12-07T08:17:24Z
dc.date.available 2020-12-07T08:17:24Z
dc.date.issued 2003
dc.identifier.issn 9741722958
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71331
dc.description Thesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2003 en_US
dc.description.abstract Photocalytic degradation of 4-Chlorophenol (4-CP) was studied using TiO2, Au/TiO2, Ag/TiO2 and Au-Ag/TiO2 prepared by the sol-gel methods and commercial TiO2 (Degussa P25) as photocatalysts. An amount of intermediate products obtained from the 4-CP degradation was determined. Experiments were carried out in a batch reactor with both catalyst suspended in the solution and coated on glass plates under an 11 W low pressure mercury lamp of 200-280 nm wavelength. Qualitative analysis of solution was obtained by means of a high performance liquid chrom (TOC) analyzer. The results showed that, with TiO2 (sol-gel), a decrease in 4-CP concentration was much faster than that with TiO2 (Degussa P25). In contrast, the reduction rate of TOC with TiO2 (Degussa P25) was much higher than that with TiO2 (sol-gel). The addition of a small amount of either Au or Ag into TiO2 (sol-gel)significantly improved the catalytic acitvity but the addition 0.1% Au into 0.1% Ag/TiO2 did not show any improvement of the catalytic activity. Moreover, the TiO2 suspenson system had a higher initial degradation rate than the TiO2 immobilized system. en_US
dc.description.abstractalternative งานวิจัยนี้ศึกษาการสลายตัวของสาร 4-คลอโรฟีนอล ด้วยวิธีโฟโตคะตะไลซิสโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา ไททาเนีย ทองบนไททาเนีย เงินบนไททาเนีย และทองเงินบทไททาเนียที่เตรียมโดยวิธีโซล-เจล และสารไททาเนียทางการค้า (เดอกูสซา พี 25) โดยศึกษาปริมาณของสารมัธยันต์ที่เกิดขึ้นในระหว่างการสลายตัวของสาร 4-คลอโรฟีนอล การทดลองนี้กระทำในเเครื่องทำปฏิกิริยาแบบกะ โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาแบบกระจายตัวในสารละลาย และแบบเคลือบบนแผ่นกระจกภายใต้หลอดไฟฟ้าปรอทขนาด 11 วัตต์ ที่มีความยาวคลื่น 200-280 นาโนเมตร การวิเคราะห์เชิงคุณสมบัติของสารโดยเครื่องโคมาโตกราฟ (high performance liquid chromatograph) และเครื่องวิเคราะห์ปริมาณสารคาร์บอนทั้งหมด (total organic carbon analyzer) จากผลการทดลองได้แสดงว่า สำหรับตัวเร่งปฏิกิริยาไททาเนียที่เตรียมจากวิธีโซล-เจล ให้อัตราการลดลงของสาร 4-คลอโรฟีนอลในสารละลายมากกว่าตัวเร่งปฏิกิริยาเดอกูสซา พี 25 แต่ในทางตรงกันข้ามตัวเร่งปฏิกิริยาเดอกูสซา พี 25 มีอัตราการลดลงของค่าทีโอซีมากกว่าตัวเร่งปฏิกิริยาไททาเนียที่เตรียมจากวิธีโซล-เจลการเติมทองหรือเงินบนตัวเร่งปฏิกิริยาไททาเนีย สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาได้แต่การเติม 0.1% ทองใน 0.1% เงินบทไททาเนีย ไม่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพาของตัวเร่งปฏิกิริยาได้ นอกจากนั้นระบบที่มีไททาเนียกระจายตัวอยู่ในสารละลาย มีอัตราการสลายตัวที่เริ่มต้นสูงกว่าในระบบที่มีไททาเนียแบบไม่เคลื่อนที่
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title Photocatalytic degradation of 4-chlorophenol by Au/sol-gel TiO2, Au-Ag/sol-gel TiO2 and immobilized TiO2
dc.title.alternative การสลายตัวของสาร 4-คลอโรฟีนอล ด้วยวิธีโฟโตคะตะไลซิสโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาทองยนไททาเนีย, เงินบนไททาเนีย, ทองและเงินบนไททาเนียที่เตรียมโดยวิธีโซล-เจลและไททาเนียแบบไม่เคลื่อนที่
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Petrochemical Technology
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record