DSpace Repository

Pyrolysis of oil sludge from an API separator

Show simple item record

dc.contributor.advisor Pramoch Rangsunvigit
dc.contributor.advisor Vissanu Meeyoo
dc.contributor.advisor Thirasak Rirksomboon
dc.contributor.advisor Boonyarach Kitiyanan
dc.contributor.advisor Chatvalee Kalambaheti
dc.contributor.author Prame Punnaruttanakun
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2020-12-07T08:50:14Z
dc.date.available 2020-12-07T08:50:14Z
dc.date.issued 2003
dc.identifier.issn 9741722974
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71337
dc.description Thesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2003
dc.description.abstract Typically, API separator sludge can be handled via combustion and/or recycling into reusable oils. However, it has been found that such methods cause secondary pollutants. Recently, pyrolysis has been proven to be an alternative for disposal of this sludge. In this study, we investigated the API separator sludge obtained from an oil company in Thailand. Experiments were carried out by means of thermogravimetric analysis at different heating rates of 5, 10 and 20Cmin-1. The weight loss data were then scrutinized for kinetic analysis. Results showed that typical derivative curves of the sludge consist of two major peaks. The first peak was found between 230-270C while the other was found between 400-415C. The former was resulted from the volatilization of free light volatile compounds existing in the sludge and the latter was attributed to the volatilization and main pyrolysis. The pyrolyzed peofucts were confirmed by the mass spectroscopy results. Hydrogen and acetylene were found to be the main species in the pyrolysis products. The pseudo bi-component model showed a good fit with the experimental data.
dc.description.abstractalternative โดยหลักการทั่วไปกากตะกอนน้ำมันจากถังแยก API สามารถถูกกำจัดได้โดยผ่านกระบวนการเผาไหม้และ/หรือ การเปลี่ยนสภาพเป็นผลิตภัณฑ์น้ำมันที่สามารถนำกลับมาใช้ประโยชย์ได้อีก อย่างไรก็ตามวิธีการดังที่กล่าวมา สามารถก่อให้เกิดสารที่เป็นมลพิษขั้นทุติยภูมิได้ เมื่อไม่นานมานี้ กระบวนการไพโรไลซีสได้ถูกพิสูจน์แล้วว่าเป็นอีกกระบวนการหนึ่งที่ดีสำหรับการกจัดกากตะกอนน้ำมันชนิดนี้ งานวิจัยฉบับนี้ได้ทำการศึกษาปฏิกิริยาไพโรไลซีสกับกากตะกอนน้ำมันจากบ่อแยก API ของบริษัทน้ำมันปิโตรเลียมแห่งหนึ่งในประเทศไทย การทดลองนี้ทำการศึกษาโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงความร้อน (Thermogravimetric Analysis, TGA) ที่อัตราการความร้อน 5 10 และ 20 องศาเซลเซียนต่อนาที ข้อมูลน้ำหนักที่สูญเสียไปของกากตะกอนน้ำมันจากบ่อแยก API ถูกนำมาวเคราะห์ทางจลนศาสตร์ จากผลการทดลองพบว่าเส้นโค้งอัตราการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักของกากตะกอนน้ำมันกับอุณหภูมิมีค่าสุงสุดสองค่า ซึ่งค่าสูงสุดค่าแรกอยู่ระหว่างอุณหภูมิ 230 ถึง 270 องศาเซลเซียส ในขณะที่อีกค่าหนึ่งอยู่ระหว่างอุณหภูมิ 400 ถึง 415 องศาเซลเซียส ส่วนแรกจะเป็นผลจาก กระบวนการระเหยของสารองค์ประกอบระเหยง่ายอิสระที่อยู่ในกากตะกอนน้ำมัน สำหรับส่วนหลังสืบเนื่องมากจากกระบวนการระเหย และถือว่าเป็นปฏิกิริยาไพโรไลซีสหลัก ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยาไพโรไลซีสถูกยืนยัน โดยผลจากการวิเคราะห์แยกเชิงมวล (Mass Spectroscopy) จากการตรวจสอบพบว่า ก๊าซไฮโดรเจน และก๊าซอะเซทิลีน เป็นผลิตภัณฑ์หลักที่ได้จากปฏิกิริยาไพโรไลซีสหลัก สำหรับการศึกษาพฤติกรรมทางจลนพลศษสตร์ของปฏิกิริยาไพโรไลซีสของกากตะกอนน้ำมันจากบ่อแยก API ทำได้ดดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ชนิดองค์ประกอบเทียมสององค์ประกอบ ผลการทดสอบพบว่า ค่าการคำนวณที่ได้จากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เทียบเท่ากับข้อมูลที่ได้จากการทดลอง
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title Pyrolysis of oil sludge from an API separator
dc.title.alternative ไพโรไลซีสของกากตะกอนน้ำมันจากบ่อแยก API
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Petrochemical Technology
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record