DSpace Repository

Surfactant diffusivity measurement by transient capillary rise

Show simple item record

dc.contributor.advisor Kitipat Siemanond
dc.contributor.advisor Pramoch Rangsunvigit
dc.contributor.advisor O'Rear, Edgar A
dc.contributor.author Pree Enkvetchakul
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2020-12-07T08:59:39Z
dc.date.available 2020-12-07T08:59:39Z
dc.date.issued 2003
dc.identifier.issn 9741723008
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71339
dc.description Thesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2003
dc.description.abstract Surfactant diffusivity measurements are of great interest, in part, due to its importance in many aspects like cleaning processes and textile industries (Rosen 1989). Presently, the most commonly used technique to determine surfactant diffusivity is the Taylor dispersion (peak-broadening) method (Pratt and wakeham 1974). Accuracy of the method comes with expensive equipment and complex analysis. Here, a new and simple method to obtain surfactant diffusivity is proposed based on the transient capillary rise. The method flooows the change of surfactant concentration through surface tension measurements in a capillary tube. The change is then correlated to a mass balance equation, in which surfactant diffusivity is embedded. Sodium dodecyl sulfate (SDS), Tetradecyl trimethly ammonium bromide (CTAB), and Octylphenol ethylene oxide condensate (Triton X-100) as an anionic, cationic and nonionic surfactant respectively were used to test the validity of the proposed method. The transient capillary rise method can readily be used to obtain SDS and Triton X-100 diffusivity with a small deviation from that obtained from the Taylor dispersion method. As the proposed method meeds the change of surface tension data to obtain diffusivity and the surface tension of CTAB from the capillary tube method tends to be constant, it is not applicable for CTAB diffusivity measurements at any concentration.
dc.description.abstractalternative การวัดการเคลื่อนที่ขึ้นในคะปิลลารีเป็นวิธีใหม่ที่ถูกเสนอขึ้นมา เพื่อใช้วัดสัมประสิทธิ์การแพร่ของสารลดแรงตึงผิว หากเปรียบเทียบกับวิธีที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันคือวัดการกระจายของสารแบบเทย์เลอร์ วิธีการใหม่นี้จะมีการวัดที่ง่ายและมีค่าใช้จ่ายถูก หลักการของวิธีนี้คือวัดระดับของสารละลายในคะปิลลารี ซึ่งสูงขึ้นเมื่อความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวในคะปิลลารีเพิ่มขึ้น การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์จากทฤษฎีของแรงคะปิลาลารี กิ๊บส์พล็อต (กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงตึงผิวกับความเข้มข้น) และการถ่ายโอนมวลสารของสารลดแรงตึงผิวในหลอดคะปิลลารี เพื่อหาสัมประสิทธิ์การแพร่ของสารลดแรงตึงผิว กาหาค่าสัมประสิทธิ์การแพร่ของสารลดแรงตึงผิวทำได้โดยการเทียบแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เข้ากับการเปลี่ยนแปลงระดับความสูงของของเหลวในคะปิลลารีที่ขึ้นกับเวลา ในงานนี้ความถูกต้องของวิธีที่เสนอขึ้นทำโดยเปรียบเทียบค่าสัมประสิทธิ์การแพร่ของโซเดียมโดเดคซิลซัลเฟต เตรตตะไตรเม็ททิลแอมโมเนียมโบรไมด์ และอ๊อกทิลลีนอ๊อกไซด์คอนเดนเสต ซึ่งเป็นสารลดแรงตึงผิวชนิดประจุลบ บวก และไม่มีประจุามลำดับกับค่าที่ได้จากวิธีอื่น ผลการทดลองปรากฏว่าค่าสัมประสิทธิ์การแพร่ของโซเดียมโดเดคซิลซัลเฟตและอ๊อกทิลฟีนอลเอทิลีนอ๊อกไซด์คอนเดนเสตที่ได้จากวิธีของนี้มีค่าที่ใกล้เคียงกับค่าที่ได้จากวิธีการจัดการกระจายของเทย์เลอร์แต่ไม่สามารถหาค่าสัมประสิทธิ์การแพร่ของเตรตตะไตรเม็ททิลแอมโมเนียมโบรไมด์ได้เนื่องจากว่าค่าแรงตึงผิวของเตรตตะไตรเม็ททิลแอมโมเนียมโบรไมด์ที่วัดได้จากวิธีคะปิลลารีมีค่าคงที่ทุก ๆ ความเข้มข้นซึ่งวิธีการนี้ไม่สามารถหาค่าสัมประสิทธิ์การแพร่ได้ถ้าปราศจากการเปลี่ยนแปลงแรงตึงผิวในคะปิลลารี
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title Surfactant diffusivity measurement by transient capillary rise
dc.title.alternative การวัดสัมประสิทธิ์การแพร่ของสารลดแรงตึงผิวโดยวิธีการเคลื่อนที่ขึ้นในคะปิลลารี
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Petrochemical Technology
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record